Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวแบบองค์รวมในพื้นที่จังหวัดตาก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สุภโชค ธวัชพีระชัย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการแรงงานตางดาวแบบองครวมในพื้นที่จังหวัดตาก ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย พล.ต.สุภโชค ธวัชพีระชัย หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ ประเทศไทยเปนประเทศที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจคอนขางสูง เมื่อเปรียบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบาน ยังทําใหเกิดปจจัยดึงดูดและปจจัยผลักดันการโยกยายถิ่น ดวยเหตุผลทาง เศรษฐกิจ แมวาประเทศไทยจะสงเสริมใหผูประกอบการลงทุนสรางสถานประกอบการบริเวณ ชายแดน เพื่อลดคาใชจายดานแรงงาน แตกลับปรากฏวาแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองในเขต ภายในประเทศก็ยังคงมีจํานวนมากอยู จังหวัดตากเปนจังหวัดหนึ่งที่อยูติดชายแดน และมีการใช แรงงานตางดาวสัญชาติพมา ผูวิจัย จึงสนใจที่จะทําการศึกษาถึงสภาพปญหาของการใชแรงงานตางดาวในพื้นที่ จังหวัดตาก ศึกษาบทบาทหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการแรงงาน ตางดาว และเพื่อเสนอแนวทางบริหารจัดการแรงงานตางดาว แบบองครวมในพื้นที่จังหวัดตาก โดยใน การวิจัยตรั้งนี้ ผูวิจัยใชขอมูลเอกสารและขอมูลทุติยภูมิจากหนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวของจาก กระทรวงแรงงาน กระทรวงกลาโหม กระทรวงพัฒนาเพื่อความมั่นคงของมนุษย กระทรวง สาธารณสุข สํานักงานตํารวจแหงชาติสํานักงานตรวจคนเขาเมือง รวมทั้งภาคเอกชนและภาค ประชาชน ที่มีสวนเกี่ยวของกับการใชแรงงาน ในดานพื้นที่ศึกษาทุกอําเภอของจังหวัดตาก ในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและนอกเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบวา ในสวนของนโยบายการแกไขปญหาแรงงานตางดาวของรัฐบาลมี การเปดโอกาสใหจดทะเบียนแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองที่ลักลอบทํางานอยางผิดกฎหมายอยูใน ประเทศไทย เพื่อยืนยันใหทํางานในประเทศไทย เพื่อรอการพิสูจนสัญชาติ ทําใหแรงงานตางดาว ไดรับการควบคุมทางบัญชี แตก็สามารถเดินทางเขาไปทํางานในพื้นที่ตอนในได จึงทําใหเกิดการขาด แคลนแรงงานในพื้นที่ รัฐบาลจึงกําหนดใหนํามาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติการทํางานของคนตาง ดาว พ.ศ.๒๕๕๑ มาบังคับใชตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เพื่อขออนุญาตทํางานไดในลักษณะไป – กลับ แตในความเปนจริงพบวาราษฎรชาวเมียนมาสวนใหญหรือรอยละ ๙๕ เปนแรงงานที่อาศัยอยูในพื้นที่ ชั้นใน โดยไมมีภูมิลําเนาอยูในจังหวัดเมียวดี จึงไมสามารถดําเนินการออกบัตรผานแดนได ในดานของดานสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุขารับผิดชอบ เรื่อง การตรวจโรคและ การประกันสุขภาพ โดยมีคาใชจายในการตรวจโรคปละ ๕๐๐ บาท โดยจะออกใบรับรองแพทยให๔ ใบ โดยนายจางนําไปใชครั้งละ ๑ ใบ ตอ ๓ เดือน รวมคาใชจายดานสุขภาพสําหรับแรงงานตางดาว สัญชาติเมียนมาตามมาตรา ๑๔ ในรอบ ๓ เดือน จํานวน ๑,๐๐๐ บาท แรงงานตางดาวที่เขามามักจะ ไมมีเงินจายใหทําใหประเทศไทยมีความเสี่ยงตอการเขามาของแรงงานตางดาวที่มีโรคประจําตัวและ โรคระบาด ปญหาการคามนุษยดานแรงงานปจจัยที่ทําใหจังหวัดตากมีสถานการณการคามนุษย คือ เปนเมืองตนทางที่แรงงานโยกยายเขามาทํางาน เปนเมืองทางผานที่กลุมขบวนการคามนุษยนําเหยื่อข จากสถานที่อื่นผานจังหวัดตากไปยังภูมิภาคอื่นของประเทศหรือสงตอตางประเทศ เปนเมืองปลายทาง ที่ผูตกเปนเหยื่อคามนุษยจากที่อื่นถูกสงเขามาแสวงประโยชนในพื้นที่ชายแดนดานอําเภอแมสอดไป ยังสถานบริการ ในสวนของขอเสนอแนะ ควรมีการปรับแกความตกลงระหวางประเทศไทยกับสหภาพ เมียนมา เพื่อใหตอบโจทย ผูที่ตองการขอบัตรผานแดน (Border pass) เขามาขออนุญาตทํางานใน ลักษณะไป – กลับ หรือตามฤดูกาล เพื่อใหครอบคลุมราษฎรชาวเมียนมาที่อยูนอกเขตจังหวัดเมียวดี และการปรับปรุงระบบสาธารณสุขใหผูประกอบการรายยอยและเกษตรกรสามารถปฏิบัติไดตามที่ รัฐบาลตองการ รวมถึงการบริการใหความรูดานความปลอดภัยในสถานประกอบการ เชน วัตถุ อันตราย สารเคมีในแปลงเกษตร

abstract:

Abstract Title The Way of Holistic Management for Migrant Workers in Tak Province Field Social- Psychology Name Maj.Gen. Supachok Tawatpeerachai Course NDC. Class 59 Thailand has got high growth in economy when compared with neighboring countries, and this attracts and is a factor causing transmigration. Despite the policy supporting the dealers to build firms and factories in boundary’s areas in order to reduce expense, there are many migrant workers illegally move to urban areas of Tak province which borders on the frontier and there are Myanmar workers. This research is aimed to study the problems of migrant workers in Tak province’s areas and the roles of government sector and private sector in migrant worker management to provide the way of the holistic management. Secondary data and documents from concerned units in every special economic development zone from Labor Ministry, Defense Ministry, Social Development and Human Security Ministry, Public Health Ministry, Royal Thai Police, Immigration Bureau, private sector and civic sector were used in this study. This is a qualitative research. The result revealed that a solution from the government was to allow the migrant workers to register to work in Thailand and to wait for the nationality proof. This made the workers in control with accounts. Still, the workers were allowed to work in the inside area. That caused lack of workers in the areas. As the result, the government enforced the Section 14 of Working of Alien Act, B.E. 2551 since October 1st, B.E. 2559, to make the workers go and return. However, it was found that, in reality, ninety-five percentage of the Myanmar people stayed in the inside areas, and did not have their hometowns in Myawaddy, Myanmar. So, it was not able to release the border pass for them. As for the public health, the Public Health of Thailand was responsible for disease examination and health covering which cost five-hundred baht per year. Four medical certificates would be given, and a certificate was available for three months. The total expense of health for the Myanmar migrant workers according to the Section 14, in three months, cost one-thousand baht. Mostly, the workers were not able to afford the expense. That caused the risk of medical problems and epidemic. There is humans trafficking in Tak province as the province is the entrance where the workers immigrate to work, and also Tak is the passage way for2 the human trafficking movements to send the victims through other provinces or other countries or a destination where the victims are sent to entertainment spots. As for suggestions, agreement should be made between Thai and Myanmar to reach the workers’ demand in order to allow them to receive border pass which letting them to work by going and returning or seasonal working. This suggestion can cover the Myanmar workers who stay out of the Myawaddy, and help develop public health system to let minor operators and agriculturists able to follow the government’s policy including providing them with knowledge concerned with the safety of entertainment spots such as dangerous goods, and chemical substance in vegetable plots.