เรื่อง: แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อผลที่ยั่งยืนของโครงการพัฒนาชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงในประเทศคู่ร่วมมือกับไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง สุพัตรา ศรีไมตรีพิทักษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง แนวทางการพัฒนาตัวชีวัดเพือผลทียังยืนของโครงการพัฒนาชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียงในประเทศคู่ร่วมมือกับไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางสุพัตรา ศรีไมตรีพิทักษ์ หลักสูตร วปอ. รุ่น 59
การเผยแพร่หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(Sufficiency Economy Philosophy – SEP)
สู่ประชาคมระหว่างประเทศถือเป็ นนโยบายทางการทูตทีสําคัญของประเทศไทยด้วยการสร้างหุ้นส่วน
(Partnership) ความร่วมมือกับประเทศคู่ร่วมมือเพือการบรรลุเป้ าหมายการพัฒนาทียังยืน (Sustainable
Development Goals – SDGs) ร่วมกันตามวาระการพัฒนาของสหประชาชาติค.ศ.2030(2030 UN
Development Agenda)การดําเนินความร่วมมือเพือการพัฒนากับประเทศคู่ร่วมมือกับไทยด้วยแนวทางตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจําเป็ นต้องมีการประเมินผลเพือให้การความยังยืนและเป็ นประโยชน์
อย่างต่อเนืองต่อการพัฒนาของประเทศคู่ร่วมมือนัน ๆ
ตัวชีวัดทีใช้ในการประเมินโครงการพัฒนาชุมชนโดยกรมพัฒนาชุมชนสามารถปรับใช้กับ
โครงการทีมีการจัดตังศูนย์เรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาชุมชน ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นกิจกรรมทีเกิดขึนในพืนทีของ
สถานศึกษาหรื อแปลงสาธิต เช่น ในราชอาณาจักรเลโซโท และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ในขณะเดียวกันตัวชีวัดทีใช้ในแผนแม่บทของสํานักงานคณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนืองมาจาก
พระราชดําริสามารถปรับใช้กับโครงการทีมีต้นแบบการพัฒนาชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงในพืนทีของเกษตรกรเช่น
ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต ราชอาณาจักรกัมพูชาโดยให้ความสําคัญแก่บริบทในแต่ละประเทศ
ในการประเมินด้วยตัวชีวัดทีได้พัฒนาปรับมาใช้ข้างต้นแล้ว ยังมีความจําเป็ นทีจะต้อง
พิจารณาเกียวกับตัวแปรบางประการในประเทศคู่ร่วมมือเพิมเติม ได้แก่การกําหนดนโยบายของภาครัฐ
การมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบ ภูมิสังคม และความต่อเนืองของการดําเนินโครงการในระดับปฏิบัติ
ผู้ทีเกียวข้องในโครงการจึงต้องทําความเข้าใจเกียวกับความสําคัญของตัวชีวัดเพือสร้างความตระหนัก
และความเข้าใจถึงกิจกรรมการประเมินผลทียังยืนด้วยตัวชีวัดทีเหมาะสม การสร้างกลไกการประเมินด้วย
ตัวชีวัดไม่ใช่แค่การวัดผลสําเร็จของการดําเนินโครงการทีมีการกําหนดให้มีกิจกรรมด้านต่าง ๆ เท่านัน
แต่เป็ นการประเมินและติดตามผลทีจะเกิดขึนแก่ชุมชนในระยะยาวการกําหนดตัวชีวัดผลทียังยืนควร
จัดเป็ นกิจกรรมหลักกิจกรรมหนึงในการดําเนินโครงการตังแต่เริมต้นโดยการมีส่วนร่วมของสมาชิก
ชุมชนและเจ้าหน้าทีทีเกียวข้อง นอกจากนัน ผลลัพธ์ของโครงการควรมีความเชือมโยงกับการบรรลุ
เป้ าหมายเพือการพัฒนาทียังยืนของสหประชาชาติทัง17เป้ าหมายหลักและ169เป้ าหมายรอง
abstract:
ABSTRACT
Title Guideline for Development of Indicators to Assess Sustainable Outcomes
of the Sufficiency Economy Community Development Projects in Partner
Countries of Thailand
Field Social-Psychology
Name Mrs. Suphatra Srimaitreephithak Course NDC Class 59
Through the practices of the Sufficiency Economy Philosophy (SEP), Thailand fulfilled the
nation-wide needs for development and submitted a report on her achievement of the United Nations
Millennium Development Goals (MDGs) set for2015, together with an MDGs Plus advancementon certain
Goals. The success from MDGs enabled Thailand to share with other developing countries the application of
SEPin various sectors of the society and at different levels, be it individual, family, household, community,
business enterprise, and government agency. Thailand International Cooperation Agency (TICA), Ministry of
Foreign Affairs has been tasked to provide training programmes and activities, through which SEP is
introduced to partner countries, and at later stage, to be adopted and applied as a home-grown approach to
achieve sustainable development. A concept of Community based Development Project with the use of SEP
has been, therefore, initiated and proposedby TICA to other interested developing countries. In carrying out
such project, there is a need to develop a setor more of indicators to gaugethe sustainability of the project and
its outcomes. This research is aimed to explore a possible guideline that would pave the way for TICA to
develop indicators which arelogical to the context,practical to parties concerned,and deliverabletangibly. The
study pointed out that the existing sets of indicators used by the Department of Community Development,
Ministry of Interior, and the Office of the Royal Development Projects Board are sufficient to be the basis and
could be further adapted for the assessment of the projects abroad as they have met criterion for good
indicators. Sustainable development as a result of the application of SEP should bring about the measurable
strength, stability, and balance of the society in four dimensions, i.e. economic, social, environmental, and
cultural. Furthermore, with an appropriate set of indicators, the assessment of the sustainable outcomes of the
Sufficiency Economy Community Development Projects in the partner countries, wouldalsosubstantiate the
effort by Thailand and her counterpart to work in partnership for the attainment of Sustainable Development
Goals (SDGs) under the UN Development Agenda 2030, without leaving anyone behind.