Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนารูปแบบการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการตนเองอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาหมู่บ้านคลองคู อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุชาติ แดงประไพ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประยุกตเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการตนเองอยางยั่งยืน กรณีศึกษา หมูบานคลองคู อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ผูวิจัย พลตรีสุชาติ แดงประไพ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59 ปจจุบันการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคมเปนไปอยางรวดเร็ว เปนสังคม วัตถุนิยม เนนการตอบสนองความตองการทางดานวัตถุ และเงิน เปนหลัก การดํารงชีวิตประจําวันมีคา ครองชีพที่สูงขึ้นความเห็นแกตัวจิงมากขึ้นในสังคม การรวมกลุมชวยเหลือซึ่งกันและกันนอยลง หวัง พึ่งพิงผูอื่นจนลืมพัฒนาตนเอง ทําใหขาดหลัการพึ่งตนเอง การพัฒนาในปจจุบันจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตอง สงเสริมการพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรง พระราชทานใหกับสังคมไทย การสงเสริมใหชุมชนมีความรู ความเขาใจ ในหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงอยางจริงจังและปฏิบัติไดผลจริง เปนสังคมที่สามารถพึ่งตนเองอยางยั่งยืนในที่สุด ซึ่งจากการนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในพื้นที่ บ.คลองคู ต.ทาโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลกโดยไดมีการดําเนินงานจัดตั้งศูนยการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ๘๔ พรรษา นพค.๓๔ สนภ.๓ นทพ. เพื่อถวายความจงรักภักดีแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ และเปนการชี้นํา แนวทางตามพระราชดําริ เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวฯ ใหแกเกษตรกร เยาวชน นักเรียน และประชาชน ในชุมชนพื้นที่เปาหมายของหนวยฯ ตลอด ถึงกําลังพลครอบครัวของหนวยฯ โดยไดเริ่มดําเนินการมาตั้งแตป๒๕๕๒ เปนตนมาไดมีการปรับปรุง พัฒนามายอางตอเนื่องและไดดําเนินการเปดศูนยฯ เมื่อ ๒๔ พ.ค.๕๔ เพื่อใหเปนศูนยที่ใชประโยชนกับ ประชาชน อยางแทจริงและยั่งยืน โดยไดเนนการดําเนินกิจกรรมในลักษณะผสมผสานทั้งการปลูกพืช ปลอดสารพิษ การปลูกพื้นผักสวนครัว ไมสวน ไมผล การเลี้ยงสัตว การทําปาชุมชน การสงเสริมอาชีพ และอื่นๆ ดดยใชหลักการบริหารจัดการพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด การดําเนินกิจกรรมภายในศูนยการ เรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงฯ เพื่อทําใหเกิดกระบวนการความรวมมือจากชุมชนในการดําเนินชีวิตแบบ เศรษฐกิจพอเพียง ทําใหประชาชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น คุณภาพชีวิตสมบูรณ ชุมชนเขมแข็ง โดยภายใน ชุมชนมีการสรางระบบบริหารจัดการน้ํา การผสมผสานระหวางเกษตรกรรม ปศุสัตว และประมง การรวมกลุมเพื่อใชวัตถุดิบภายในชุมชน ตลอดจนมีการจัดตั้งกลุมทุนของตนเอง ซึ่งเปนไปตามเปาหมาย ของการดําเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แตอยางไรก็ตามเมื่อมองไปถึงในอนาคตชุมชน เหลานี้ก็อาจจะเกิดปญหาขึ้นไดเมื่อคนรุนใหมในชุมชนอาจไมสามารถสืบทอดแนวทางเดิมไวไดจะทํา ใหเกิดภูมิคุมกันลดนอยลงอันอาจจะทําใหสภาพความเปนอยูแบบพอเพียงนี้กลับไปสูสภาพของชุมชน อื่นๆ บางพื้นที่ ก็คือการขายที่ดินทํากิน และกลับไปสูความยากจนและคุณภาพชีวิตที่แยลงเหมือนเดิม จากงานวิจัยผูวิจัยมีขอคิดเห็นเสนอแนะเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาตอไป จากการ ชุมชนในใชวิสัยทัศน“หมูบานปลอดยาเสพติด ผลิตเกษตรอินทรีย ดําเนินวิถีตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง” โดยใช 4 ยุทธศาสตร ที่จะนําพาหมูบานไปสูความสําเร็จตามวิสัยทัศน ยุทธศาสตรที่ 1 การสรางภูมิคุมกันและปองกันแกไขปญหายาเสพติดข โดยใหหมูบานมีการจัดอบรมอาสาสมัคร เฝาระวัง ตั้งดานตรวจและจัดเวรยามใน หมูบาน ใหความรูเกี่ยวกับกฏหมายและโทษของยาเสพติด จัดกรรมดานกีฬาหรือกีฬาสาน ความสัมพันธ เพื่อใหชาวบานในชุมชนมีสัมพันธที่ดีตอกันและแลกเปลี่ยนปญหาสิ่งกันและกัน ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมใหชุมชนในหมูบานมีกิจกรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อบรมให ความรู ศึกษาดูงาน จัดฝกอบรมและรับการศึกษาดูงานในที่ตางๆ ภายในประเทศเพื่อนําความรูที่ไดมา ปรับพัฒนาใชกับหมูบาน ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาการผลิตภายใตเกษตรอินทรีย จัดการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย สงเสริมการใชสารอินทรียในการ ผลิต และคิดคนหรือนํานวัตกรรมใหมๆ มาปรับใชในการปองกันแมลงและปุยชีวภาพ ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาแบบมีสวนรวม ควรสงเสริมการเชื่อมโยงผลประโยชนระหวางกลุมและบุคคลในชุมชนตลอดจนการ ทํางานเนนการมีสวนรวมทุกขั้นตอนใหเปนทีม เพื่อความสมานฉันทในกลุมชุมชน โดยจัดกิจกรรมทํา รวมกันหรือจัดเปนกลุมเกษตรหลายๆ ดานเพื่อจะมาใชในหมูบานได

abstract:

Abstract Title Applied Development of Sufficiency Economy for Sustainable Management in Case Study at Ban Khlong Khu, Muang District, Phitsanu Lok Province Field of Subject Social Psychology Researcher Maj.Gen. Suchart Dangprapai Course NDC. Class 59 Nowadays, the development in economy and society has altered rapidly. It has become a society of materialism focusing on reaching the main demand of materials and money. The living cost is getting high which causes selfishness in people. Groups of people to assist others have reduced. Many people rely on other helps without self-improvement. It is essential to support the development following the Sufficiency Economy philosophy which His Majesty King Bhumibol initiated. It suggests that intensive knowledge and comprehension of Sufficiency Economy philosophy be given to communities to build a society of lasting self-reliance. Sufficiency Economy philosophy was brought to utilize in Ban Khlong Khu, Tha Pho, Muang district, Phitsanu Lok province by establishing Learning Center of Sufficiency Economy in honor of His Majesty the King's 84th Birthday, MDU 34, AFDC to be a sign of deep loyalty to His Majesty King Bhumibol and to instruct agriculturists, youth, students, people, and the staff’s families in the philosophy. The establishment started in B.E. 2552, and there have been improvement all along. The center was opened in May 24, B.E. 2554 as a useful center for the people. The process focuses on integrated activities such as pesticide-residue-free vegetable, home-grown vegetable, fruits, animal husbandry, community forest, career support, and others with area management to gain the maximum benefits. The activities under the center improve the people’s living and make the communities stronger. The communities have built water management, the integration between agriculture, cattle and fishery. The activities cause gathering to utilize material in communities and also forming a capital group as following the philosophy. However, in the future, a problem may occur if the new generation do not carry on these concepts. If they do not follow the philosophy, their living will be worse as the same. According to this study, the suggestions were made to be pathways of the development as the communities used the vision ‘Drugs Free Community, DoOrganic Farm, Follow Sufficiency Economy’. There are four strategies which can bring success to the community following the vision. Strategy 1 : Build Immunity and Protect People from Drugs The community should train volunteers to observe, have checkpoints and guards to be given knowledge of laws and punishments concerned with drugs. Sports and activities to build good relations among people should be formed. Strategy 2 Development Following Sufficiency Economy philosophy Activities about Sufficiency Economy, training, and study activities should be created to gain the knowledge and utilize it for the community. Strategy 3 Production Development under Organic Farming Hold a training to provide with knowledge about organic farming to motivate the utilization of organic farming, and also invent new innovations to protect from insects and produce bio-fertilizer. Strategy 4 Community-participant Development Support the connection between groups and people in communities focusing on participation in every step, working as a team. That will cause unity in communities. Make groups of different aspects of agriculture.