Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเตรียมความพร้อมของศูนย์ผึกบรรเทาสาธารณภัยหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สำราญ ไชยริปู
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการเตรียมความพร้อมของศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี ส าราญ ไชยริปู หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อศึกษาแนวโน้มที่จะเกิดของภัยพิบัติ ประเภทต่าง ๆ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพ การเตรียม ความพร้อมของศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา และเพื่อเสนอแนวทาง การพัฒนาศักยภาพ ของศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา โดยได้ก าหนด ขอบเขตของการวิจัยด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทาง ความเป็นไปได้ ในการเตรียมความพร้อมของ ศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ผู้วิจัยก าหนดขอบเขตผู้ให้ข้อมูลส าคัญ คือ ผู้ที่มีส่วนก าหนดแนวทาง นโยบาย ทางด้านภัยพิบัติแห่งชาติ ผู้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการ เตรียมความพร้อมของศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา ส าหรับการก าหนด ระเบียบวิธีการวิจัยหรือกระบวนการวิธีวิจัย ตามการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนดระเบียบ วิธีการวิจัย โดยการใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ อันประกอบไปด้วย กระบวนการศึกษาและ วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารหรือการวิจัยเชิงเอกสาร และกระบวนการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า การปฏิบัติต้องมีแนวทางการปฏิบัติการร่วมกับหน่วยทหารอื่น ทั้งในส่วนกองบัญชาการกองทัพไทย และเหล่าทัพ ในการปฏิบัติการฝึกอบรม ให้ความร่วมมือทางด้าน ความรู้ โดยต้องมีการประสานงานระหว่างกันอย่างใกล้ชิด และพยายามเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน ด ารงการติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนระหว่าง การปฏิบัติงาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดการสาธารณภัยของกองบัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์แต่ละระดับโดยยึดกรอบการด าเนินงานตาม แนวทางการปฏิบัติตามาตรฐานหลักสากล แต่ทั้งนี้ควรมีการก าหนดนโยบายที่ชัดเจนจากผู้บังคับบัญชา ชั้นสูงโดยผลักดันให้ศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัยมีมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับสากล ก าหนดบทบาทที่ ชัดเจนพร้อมทั้งสนับสนุนทางด้านงบประมาณในการจัดฝึกอบรม จัดซื้อยุทโธปกรณ์ที่จ าเป็น ในส่วน รัฐบาลควรก าหนดนโยบายการปฏิบัติในการช่วยเหลือภัยพิบัติให้เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่เป็นรูปธรรม

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines Preparedness For Disaster Relief Training Center Of the Armed Forces Development Command Field Military Name Major General Samran Chairipoo Course NDC Class 59 This research aims at research. To study the likely occurrence of various types of disasters. To study comparative factors related to potential development. Preparation of Disaster Relief Training Centers Military Development Command And to propose potential development guidelines. Of the practice center for disaster relief. Military Development Command. By defining the scope of content research on guidelines possibility To prepare the disaster relief center. Military Development Command. Researchers determine the extent to which key informants are those who formulate a national disaster management policy. Prepare the disaster relief center. Military Development Command. For defining research methodology or research methodology. According to this study. Researchers have defined research methodology. By using qualitative research process. Consists of The process of studying and analyzing data from documents or research papers. And in-depth interview process. The results of this research show that the practice must be guided by other military units. Both in the Royal Thai Army Headquarters and the Army in training operations. Knowledge cooperation It requires close coordination between each other. And try to strengthen understanding between each other. Maintain continuous communication. To prevent misunderstandings during the operation to support disaster management of the National Disaster Mitigation and Response Bureau. And each event command center, based on an operational framework based on the International Standard Principles. However, a clear policy should be established by senior supervisors, with a focus on universal disaster management standards. Define a clear role and support the budget for training. Purchase necessary equipment In the government sector, the disaster management policy should be defined as a concrete strategic plan.