เรื่อง: การบริหารจัดการโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สายันต์ ตันพานิช
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง เรื่อง การบริหารจัดการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงปุยอินทรียชุมชน การบริหารจัดการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงปุยอินทรียชุมชน การบริหารจัดการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงปุยอินทรียชุมชน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู)วิจัย ผู)วิจัย นายสายันต ตันพานิช นายสายันต ตันพานิช นายสายันต ตันพานิช หลักสูตร วปอ. หลักสูตร วปอ. หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙
การวิจัยครั้งนี้มุ งเน)นการสํารวจและศึกษาสถานการณบริหารและการดําเนินงานของ
โรงปุยอินทรียชุมชนที่ดําเนินการโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแห งประเทศไทย จํานวน
๓๑๗ โรงวัตถุประสงคของการศึกษา เพื่อศึกษาการบริหารการจัดการโรงปุยอินทรียชุมชน ศึกษา
ป8จจัยความสําเร็จหรือความล)มเหลวในการดําเนินการของโรงปุยอินทรียชุมชน เพื่อวิเคราะหผลการ
ดําเนินโครงการทางเศรษฐศาสตรและ เพื่อสรุปแนวทางการพัฒนาโรงปุยอินทรียทั้งโรงงานที่ประสบ
ผลสําเร็จและยังไม ประสบผลสําเร็จหรือยังไม สามารถผลิตปุยอินทรียได)ตามมาตรฐานของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ ขอบเขตการวิจัย คือสํารวจสถานการณการดําเนินงานของโรงปุยอินทรียชุมชน
วิเคราะหป8จจัยความสําเร็จของโรงปุยอินทรียชุมชนที่ดําเนินการได)ดี วิเคราะหป8ญหาและข)อจํากัด
ของการดําเนินการของโรงปุยอินทรียชุมชนที่มิได)ดําเนินการประเมินความคุ)มค าของโครงการหนึ่ง
อําเภอหนึ่งโรงปุยอินทรียชุมชน และแนะนําการพัฒนาโรงปุยอินทรียชุมชนร)าง วิธีการดําเนินการวิจัย
คือสํารวจ รวบรวมข)อมูลโครงการที่เกี่ยวข)องกับโครงการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงปุยอินทรียชุมชน
รวบรวมข)อมูลพื้นฐานโรงปุยอินทรียชุมชนทั้งหมดทั้งข)อมูลปฐมภูมิและข)อมูลทุติยภูมิ วิเคราะห
หลักการคัดเลือกพื้นที่และหลักสูตรการอบรมสํารวจและเก็บรวบรวมข)อมูลโรงปุยอินทรียชุมชน
เป>าหมาย โดยการสัมภาษณและแบบสอบถาม โดยสัมภาษณหัวหน)าโครงการหรือนักวิจัยที่รับผิดชอบ
ผลทางการเงินที่เกิดจากการดําเนินโครงการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงปุยชุมชนจํานวน ๓๑๗ โรงมี B/C
ratio ทางด)านการเงินของโครงการนี้เท ากับ ๐.๔๕ โครงการมีความคุ)มค าทางเศรษฐศาสตรสูงมาก
กล าวคือ มี B/C ratio ทางด)านเศรษฐศาสตรของโครงการนี้เท ากับ ๑๐.๒ ดังนั้นโครงการหนึ่งอําเภอ
หนึ่งโรงปุยอินทรียชุมชนถือเปJนโครงการหนึ่งที่ช วยพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ จากการวิจัยพบว า
ป8จจัยความสําเร็จและความล)มเหลวของกลุ มผู)ผลิตปุยตามลําดับความสําคัญ คือผู)นํากลุ มหรือ
ประธานกลุ มต)องมีความเข)มแข็ง มีภาวะความเปJนผู)นํา อุทิศเวลาให)กับงานกลุ มและไม ถือประโยชน
ส วนตัวเปJนหลัก กลุ มจะต)องมีความสามัคคีและมีระบบการทํางานที่สอดคล)องกัน สมาชิกเข)มแข็ง
สามารถทํางานร วมกันได)ดี มีรูปแบบการทํางานที่สถานที่ตั้งและพื้นที่ใกล)เคียงต)องมีวัตถุดิบเพียงพอ
สามารถเดินทางไปทํางานสะดวก อยู ใกล)แหล งเพาะปลูกหรือเกษตรกรรม การถ ายทอดเทคโนโลยีสู
ภาคการเกษตรจําเปJนต)องมีความต อเนื่องโดยเฉพาะอย างยิ่งการถ ายทอดองคความรู)เรื่องปุยและ
ความสําคัญของปุยข)อเสนอแนะคือการดําเนินงานให)เพิ่มเครือข ายในระดับประเทศเข)ามามีส วนร วม
ในการขับเคลื่อน ใช)สถาบันวิชาการหรือสถาบันการศึกษาในพื้นที่เข)ามาเปJนพี่เลี้ยงให)กับกลุ มผู)ผลิต
ผลผลิตของกลุ มควรมีนวัตกรรมใหม ที่น าสนใจเพิ่มเติมนอกจากการสอนหรือการถ ายทอดทางด)าน
เทคโนโลยีและหน วยงานรัฐควรจัดการช องทางการจําหน ายให)กลุ มเกษตรกร โดยเฉพาะอย างยิ่งการ
ช องทางการจําหน ายแบบสมัยใหม เช น ตลาดอิเลคโทรนิกสและตลาดออนไลนเปJนต)น
abstract:
ABSTRACT ABSTRACT
Title :Management on one district one organic ferti Title : lizer factoryProject
Field :Economics Field :
Name :Mr. SayanTanpanich Name :Course : Course : Course : NDC Class : Class : Class : 59
The research started from study on business situation of
organic fertilizer factory which established by Thailand Institute of Scientific
and Technological Research amount 317 factories. Objectives of the study
were problem analysis and limitation of organic fertilizer factory
management, failure and success factors, cost benefit analysis and
recommendation given for the failure organic fertilizer factory. Methodology
of the study were comply the projects related to one district one organic
fertilizer factory, comply primary and secondary data of organic fertilizer,
analysis on site selection, interview head of organic fertilizer factory, project
leader and researchers. It was shown that financial analysis and economic
analysisin term of B/C Ratio was 0.45and 10.2 respectively, implied that
this project had great contributed in term of country economic.It was found
that success of organic fertilizer factory depend up on the responsibility of
leader, leadership, work hard and devote of the group. Meanwhile, member
should have the union unity and good collaboration would lead to success
as well. Location of factory was also importantsuch as better near the raw
material, surround with agriculture land and easy for transportation. In term
of knowledge, continuing of technology transfer, intensive of technology
transfer and local network was important. New fertilizer products and new
channels of marketing such as e-marketing or e-commerce are increasing
selling and income.