เรื่อง: แนวทางการรับมือกับผลกระทบด้านความมั่นคงที่เกิดจากภัยคุกคาม กรณีศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของกองกำลังบูรพา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สันติพงศ์ ธรรมปิยะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการรับมือต่อผลกระทบด้านความมั่นคงที่เกิดจากภัยคุกคาม
กรณีศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบกองก าลังบูรพา
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี สันติพงศ์ ธรรมปิ ยะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
การศึกษาน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมด้านความมนั่ คง และภัยคุกคาม
ที่ส่งผลกระทบความมนั่ คงของประเทศ ที่มีผลกระทบต่อความมนั่ คงด้านต่างๆ ทางการทหาร
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม และแนวทางการรับมือกบัผลกระทบด้านความมนั่ คงที่เกิดจาก
ภัยคุกคาม โดยมีขอบเขตของการวจิยัพ้ืนที่รับผิดชอบ ของกองก าลังบูรพา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
โดยการศึกษาข้อมูลทางปฐมภูมิ และทุติยภูมิ
ความมนั่ คงในศตวรรษที่๒๑ ที่เป็นยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากการพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเชื่อมโยงเครื อข่ายและระบบการติดต่อสื่ อสาร ประเด็นความมั่นคง
มีความซับซ้อนมากข้ึนมีความเกี่ยวพันกนัในทุกมิติจากภัยคุกคามด้านความมนั่ คงท้งัแบบเก่าและ
แบบใหม่ ซึ่งแนวโน้มการเผชิญหน้าทางทหารมีแนวโน้มที่ลดลง แต่ปัญหาเส้นเขตแดนยังคงมีอยู่
การแข่งขันพฒั นาทางเศรษฐกิจได้ทวีความรุนแรงข้ึน ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในด้านทรัพยากร
ส่งผลกระทบต่อความมนั่ คงโลกโดยภยัคุกคามเกดิจากตวัแสดงที่เป็นรัฐและตวัแสดงบทบาทที่ไม่ใช่รัฐ
โดยแนวทางการรับมือต่อภัยคุกคามได้มีการประเมินและก าหนดความส าคัญเร่งด่วนของภัยคุกคาม
ในแต่ละพ้ืนที่ที่แตกต่างกนั ไดแ้ก่ปัญหาแรงงานต่างดา้ว ปัญหาภัยพิบัติและสาธารณภัยปัญหายาเสพติด
ปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติและปัญหาละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา และจากปัญหา
ดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบด้านความมนั่ คง ท้งัทางทหารการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ที่ส าคญั เช่น
การก่อวินาศกรรม การสูญเสียงบประมาณรายจ่ายของประเทศ ประชาชนเกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิต
และทรัพยส์ินนอกจากน้ีทา ให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา ได้แก่ ปัญหาความยากจน การก่ออาชญากรรม
ต่างๆ เกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อประเทศชาติ รวมถึงอาจส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ และ
จากการศึกษาการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบจากปัญหาต่างๆ ที่เกดิข้ึนเพื่อจดัการกบัความเสี่ยงที่เกิดข้ึน
ของภัยคุกคาม ได้มีการก าหนดมาตรการต่างๆ ในการรับมือต่อผลกระทบดา้นความมนั่ คงจากภัยคุกคาม
ท้งั มาตรการป้องกนั มาตรการปราบปราม และการแกไ้ขปัญหาที่เกดิข้ึนอย่างเป็นระบบ และเสริมสร้าง
การพัฒนาบุคลากรและเครื่ องมือเทคโนโลยี รวมไปถึงการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
ภายในประเทศท้งัภาครัฐและภาคประชาชนข
ข้อเสนอแนะ แนวทางการรับมือและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม พิจารณาจากการประเมิน
ความเสี่ยงที่เกิดภัยจากคุกคามในแต่ละพ้ืนที่และควรมีการแจ้งเตือน เฝ้ าติดตาม เพื่อการป้ องกัน
และลดผลกระทบ โดยการเตรียมความพร้อม ท้งับุคลากร เครื่องมือ และแผนเผชิญเหตุต่างๆ
ที่เกดิข้ึน หน่วยงานที่มีอ านาจในการบังคับใช้กฎหมายต้องด าเนินการก าหนดยุทธศาตร์เพื่อเป็ น
กรอบแนวทางที่ใช้วางแผนการปฏิบตัิให้เกิดเป็นรูปธรรมและเหมาะสมกบั ภัยคุกคามที่เกิดข้ึน
ในแต่ละพ้ืนที่โดยการสร้างความร่วมมือระหวา่งประเทศ ภายในประเทศท้งัภาครัฐ และภาคประชาชน
abstract:
Abstract
Title Coping Guideline for Impacts on Threats and Securities: Case Study of
Burapa Command Area
Field Military
Name Maj. Gen. Santipong Thampiya Course NDC Class 59
This case study aims to assess on security environments and threats affecting on the
country’s security. This concerns on impacts various aspects including arm force, politics,
economic, social, and coping with threats. This is a qualitative research focusing on target area
controlled by Burapa Command with collected data from both primary and secondary sources.
In 21st century which is an era for rapid changes from technology development and
extension of communication network. From this circumstance, security issue becomes more
complex and related with different aspects of previous and current threats. However, there is
decreasing of military confrontation but border-tension is still existing. Moreover, there is highly
on economic competitiveness which generate conflict of resources use, affecting to global
resource use. This threat is generated by state actor and non-state actor.
Coping for threats was examined and prioritized in different areas included migrant
labor, disaster, drug, terrorism, and property rights. These threats affected on military security,
political tension, socio-economic conditions such as sabotage, waste of budget, insecure living
conditions for people. Moreover, there are also problems of poverty, crimes, country image, and
international affairs. Results from the study, there is a guideline development to cope with risks
and threats, a system management, human resource management, technology development, and
also development of international collaborations both in governments and civil society levels.