Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการผลิตไฟฟ้าจากชีวแก๊สทางเลือกของภาคเอกชนในการเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมศักดิ์ ขจรเฉลิมศักดิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง เรื่อง แนวทางการพัฒนาการผลิตไฟฟาจากชีวแก สของภาคเอกชนในการเสริมสร&างความมั่นคง ด&านพลังงาน ลักษณะวิชา ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร+ และเทคโนโลยี ผู&วิจัย ผู&วิจัย นายสมศักดิ์ ขจรเฉลิมศักดิ์ หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ ๕๙ การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค+เพื่อศึกษาสภาพป9ญหาของการผลิตไฟฟาจากชีวแก ส จากมันสําปะหลังเพื่อศึกษาสภาวะแวดล&อมและรูปแบบที่เหมาะสมของการผลิตไฟฟาจากชีวแก ส ของภาคเอกชน โดยเน&นชีวมวลจากกากมันสําปะหลังเพื่อเสนอแนวทางการผลิตไฟฟาจากชีวแก ส จากมันสําปะหลังของภาคเอกชนในการส งเสริมความมั่นคงด&านพลังงาน ใช&วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ศ ึกษาว ิเคราะห+กระบวนการ ร ูปแบบ และ ล ักษณะของการผล ิตกระแสไฟฟาช ีวแก ส จากเศษมันส ําปะหล ังของภาคเอกชน โดยศ ึกษาข&อมูลจาก เอกสารท ุต ิยภูมิเคร ือข ายอินเตอร+เน ็ต และสร&างเคร ื่องมือ (แบบสอบถาม) เพื่อว ัดระด ับความค ิดเห ็น และแบบส ัมภาษณ+จากผ ู&ทรงค ุณว ุฒิ ผลการวิจัยพบว า พลังงานทดแทนจากผลผลิตทางการเกษตรหรือพลังชีวมวลหรือ ชีวแก ส จัดเป@นทางเลือกหนึ่งในการผลิตพลังงานทดแทนเนื่องจากประเทศไทยเป@นประเทศ เกษตรกรรม ซึ่งกว าร&อยละ ๕๐ ของประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรมทําให&มีวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตร เช น แกลบ ฟางข&าว กากอ&อย กากมันสําปะหลัง มูลสัตว+ ทะลายปาล+ม ของเสียจาก โรงงานแปรรูปทางการเกษตรเป@นต&น โดยผลการสํารวจของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ+พลังงาน (พพ.) ประเมินว าประเทศไทยมีศักยภาพปริมาณชีวแก สเหลือใช&กว า ๖ ล&านตัน สามารถนําพลังงานชีวแก สมาใช&เพื่อการผลิตไฟฟาชีวแก สได&จากการศึกษาแนวทางการพัฒนา การผลิตไฟฟาจากชีวแก สของภาคเอกชนในการเสริมสร&างความมั่นคงด&านพลังงาน สามารถสรุปผล ในภาพรวมได&ดังนี้ ๑. การผลิตไฟฟาจากแกลบและฟางข&าว เหมาะสมกับพื้นที่ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒. การผลิตไฟฟาจากกากอ&อย กากมันสําปะหลัง เหมาะสมกับพื้นที่ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือตอนล าง ๓. การผลิตไฟฟาจากมูลสัตว+ เหมาะสมกับพื้นที่ภาคกลาง ๔. การผลิตไฟฟาจากปาล+มน้ํามัน ทะลายปาล+ม เหมาะสมกับพื้นที่ภาคใต& และ ภาคตะวันออก ๕. การผลิตไฟฟาจากเศษไม&ยางพาราเหมาะสมกับพื้นที่ภาคใต&และภาคตะวันออก ทั้งนี้ รัฐบาลต&องประกาศออกมาอย างชัดเจนว าอนุญาตให&แต ละภูมิภาค สามารถรับซื้อพลังไฟฟาจาก ภาคเอกชนได&และอนุญาตให&เอกชนลงทุนสร&างโรงผลิตไฟฟาได&ในจังหวัดใดบ&าง เพื่อให&สอดคล&องกับ แผนพัฒนาประเทศ ๒๐ ปI

abstract:

Abstract Abstract Title Development of Electricity Generation from Biogas Development of Electricity Generation from Biogas by Private y Private y Private Sectors to Strengthen Power Stability Sectors to Strengthen Power Stability Sectors to Strengthen Power Stability Field Science and Technology Science and Technology Science and Technology Name Somsak Khachornchalermsak Somsak Khachornchalermsak Somsak Khachornchalermsak Course NDC Class Course NDC Class Course NDC Class 59 The objectives of the research were (1) to study problems of electricity generation from cassava-based biogas, (2) to study a suitable model and environment of electricity generation from biogas, based on biomass from cassava waste, by the private sectors, and (3) to propose the guidance of electricity generation from cassava-based biogas by the private sectors in order to strengthen power stability. The qualitative methodology of the research, studied from online secondary documents, was conducted to study and analyze the process, model and characteristic of electricity generation from cassava-based biogas by the private sectors. The instrument of the research was the questionnaire used to measure the respondent’s opinions and the interview from the experts. The research findings were as follows: (1) The renewable energy from agricultural produce (bio-energy or biogas), was regarded an alternative to generate the renewable energy as Thailand was an agrarian country with more than 50% of her population living by agricultural occupancy. As a result, a lot of such agricultural waste as paddy husk, rice straw, bagasse, cassava waste, dung, palm crumb, and industrial waste, etc., was left. According to the survey of Department of Alternative Energy Development and Efficiency (DEDE), Thailand was found to have agricultural potential of biogas residues of more than 6 million tonnes, which was capable to be used to generate bio￾energy. (2) Apart from the study of the guidance of electricity generation from cassava-based biogas by the private sectors in order to strengthen power stability, the results were entirely concluded as follows: (1) The electricity generation from paddy husk and rice straw was found suitable for the country’s central and northeastern parts. (2) The electricity generation from bagasse and cassava caste was found suitable for the country’s eastern, northeastern and lower northern parts. (3) The electricity generation from dung was found suitable for the country’s central part. (4) The electricity generation from oil palm crumb was found suitable for the country’s southern part. (5) The electricity generation from rubber wood scraps was 2 found suitable for the country’s southern and eastern parts. It was clearly important for the government’s announcement to allow the country’s provincial electricity authority in each region to buy electrical power from the private sectors, and to allow in whichever province the private sectors were capable to invest in power plant construction, which was regarded in accordance with the country’s twenty-year development plan.