เรื่อง: รูปแบบการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมพงษ์ ปรีเปรม
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง รูปแบบการผลิตไฟฟาจากขยะชุมชน เรื่อง รูปแบบการผลิตไฟฟาจากขยะชุมชน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี และเทคโนโลยี
ผู*วิจัย นาย สมพงษ' ปรีเปรม ผู*วิจัย นาย สมพงษ' ปรีเปรม หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙
การศึกษาวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค'เพื่อวิเคราะห'หาส วนประกอบและปริมาณขยะใน
พื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และนํามาผลิตไฟฟาโดยพิจารณาเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสม ความ
คุ*มค าในการลงทุนของการกําจัดขยะและโรงไฟฟา เพื่อพิจารณาหารูปแบบโรงผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิง
ขยะชุมชน และพิจารณาเรื่องผลกระทบสิ่งแวดล*อมในพื้นที่โดยรอบด*วย โดยในการศึกษาวิจัยจะ
อาศัยการรวบรวมข*อมูลในด*านต างๆ เช น สภาพทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ปริมาณและลักษณะ
ของขยะจากแหล งกําเนิดขยะต างๆ เป:นต*น หลังจากนั้นจะดําเนินการศึกษาวิเคราะห'หาพื้นที่ในการ
จัดตั้งโรงผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงขยะ รวมทั้งศึกษาหาทางเลือกเทคโนโลยีการจัดการขยะ และโรง
ผลิตไฟฟาจากขยะเชื้อเพลิง เมื่อได*ข*อสรุปของเทคโนโลยีที่เหมาะสมแล*วก็จะดําเนินการประเมิน
ความคุ*มค าในการลงทุนในการกําจัดขยะและการก อสร*างโรงผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงขยะ ซึ่งใน
การศึกษาครั้งนี้ได*รวมการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล*อมเบื้องต*นของการก อสร*างโรงผลิตไฟฟาไว*ด*วย
แล*ว
ซึ่งจากการศึกษาพบว าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีขยะสะสมจํานวนมากมี
ส วนประกอบหลักของขยะเป:นเศษอินทรีย'และเชื้อเพลิงขยะ โดยเชื้อเพลิงขยะเหล านี้จะสามารถแยก
ออกจากเศษอินทรีย'ได*โดยวิธีทางกลและชีวภาพ เชื้อเพลิงขยะ RDF ที่ได*จากการจัดการขยะด*วยวิธี
ดังกล าวข*างต*น จะถูกปอนเข*าสู เตาเผาโดยตรง โดยจะถูกนําไปเผาเพื่อให*เกิดความร*อน และความ
ร*อนนี้จะถูกนํามาต*มน้ําใน Boiler ให*กลายเป:นไอแล*วนําไปใช*ในการขับเคลื่อนกังหันไอน้ําเพื่อผลิต
กระแสไฟฟา ซึ่งจะสามารถแก*ไขปFญหาขยะชุมชนที่สะสมและที่เพิ่มขึ้นทุกวันได*อย างมีประสิทธิภาพ
ไม ก อเกิดมลภาวะ และมีผลตอบแทนการลงทุนที่เหมาะสม ซึ่งหากรัฐบาลให*การส งเสริมที่ดี จะมีนัก
ลงทุนสนใจลงทุนเป:นจํานวนมาก จึงเห็นควรนํารูปแบบของโครงการนี้ไปขยายผลให*กับอําเภอ และ
จังหวัดอื่นๆ ต อไป ซึ่งจะสามารถแก*ไขปFญหาขยะชุมชนได*ในระดับชาติและอย างยั่งยืนต อไป
abstract:
ABSTRACT ABSTRACT
Title Model of Municipal Solid Waste Power Plant Model of Municipal Solid Waste Power Plant Model of Municipal Solid Waste Power Plant
Field Science Science Scienceand Technology and Technology and Technology
Name Mr. Sompong Mr. Sompong Mr. Sompong Preeprem Preeprem Preeprem Course NDC Class 59 Class 59 Class 59
This research is aimed to analyze the composition and quantity of
municipal solid waste to be used for electricity generation in Ayutthaya Province. To
consider the appropriate type of waste power plant, the appropriate technology, the
return of investment for waste management and waste power plant construction as
well as its environmental impact are studied.
The research was conducted by gathering data in relevant various aspects,
i.e. district landscape, economic and social conditions, quantity and characteristic of
waste from different sources, which were used to analysis and determine the
suitable area of waste power plant construction and its technology optimization.
Based on that concluded analysis, the return of investment for waste management
and waste power plant construction was performed. In this research, the initial
environmental examination was conducted as well.
Following the study results, it is concluded that Ayutthaya Province is
thick with amassed waste products which mainly composed of organic and fuel
waste. By mechanical and biological treatment of fuel waste, the RDF will be
produced and then directly transferred to incinerator for electricity generation. This
Waste Power Plant will efficiently help solve waste problems, which daily
accumulated and increased in community. With the friendly environment and
appropriate return of investment, if it is greatly promoted by the Government, a lot
of investors will be willing to invest in this project. As realized this kind of project
should be expanded to implement in other provinces for achieving the sustainable
solving of community waste problems of the nation.