Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ข้าวหอมมะลิกับความมั่นคงทางเศรษฐกิจ กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พศิน โกมลวิชญ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง ข้าวหอมมะลิกบความมั ั นคงทางเศรษฐก  ิจ กรณีศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู นายพศิน โกมลวิชญ์ หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ ๕๖ การวิจัยครั)งนี)มีวัตถุประสงค์ ๑) เพือศึกษาบทบาทของข้าวหอมมะลิในฐานะพืช เศรษฐกิจทีมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ๒) เพือศึกษาผลกระทบของปัญหาข้าวหอมมะลิต่อความ มันคงทางเศรษฐก  ิจ ๓)เพือศึกษาผลกระทบทีเกิดจากความผันผวนของราคาข้าวหอมมะลิต่อปัจจัยการ ผลิตในด้านต่าง ๆ ๔)เพือเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาและมาตรการในการแกไขปัญหาทีเก ้ ิดจาก ข้าวหอมมะลิเพือความมันคงทางเศรษฐก  ิจ โดยเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ การศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้ าหมาย จํานวน ๓๐ คน ประกอบหน่วยงานภาครัฐ ผู้มีส่วนได้เสีย และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ ผลการวิจัยพบว่าข้าวหอมมะลิมีบทบาทต่อเศรษฐกิจจังหวัดร้อยเอ็ด ในด้านลักษณะ ภูมิประเทศ ด้านรสชาติ ด้านวัฒนธรรมประเพณี จุดเด่นของข้าวหอมมะลิจังหวัดร้อยเอ็ดเป็ นพืชที ทนทานต่อโรคและแมลง ใช้นํ)าน้อย ไม่ต้องดูแลมาก เหมาะทีจะปลูกในพื)นทีทุ่งกุลาร้องไห้ มีรสชาติ อร่อย เหนียว นุ่ม คุณภาพดี ความหอม เหมือนดอกมะลิ การปลูกข้าวหอมมะลิประสบปัญหาการระบาดของวัชพืช และปัญหาดินขาดความ อุดมสมบูรณ์ ภัยพิบัติธรรมชาติ ปัญหาขาดแคลนแหล่งนํ)า ปัญหาด้านการตลาด การปลอมแปลงและ ปลอมปนข้าวหอมมะลิ และความผันผวนของปัจจัยการผลิต สาเหตุทีเกษตรกรนิยมปลูกข้าวหอม มะลิเนืองจากข้าวหอมมะลิมีราคาค่อนข้างสูงกวาข้าวพันธุ์อืน โดยมีคุณสมบัติทีโดดเด ่ ่นในด้านรสชาติ ข้อเสนอแนะ การแกไขปัญหาการปลูกข้าวหอมมะลิของจังหวัดร้อยเอ็ด ้ ได้แก่ การส่งเสริม การปลูกโดยใช้วิธีการทางธรรมชาติ การจัดทําแผนป้ องกนภัยธรรมชาติ และเพิ ั มระบบชลประทานให้ ทัวถึง ทิศทางพัฒนาข้าวหอมมะลิของจังหวัดร้อยเอ็ดได้แก  ่ การควบคุมและพัฒนายกระดับคุณภาพ มาตรฐานสินค้า การเพิมผลผลิตข้าวต่อไร่ให้สูงขึ)น การส่งเสริมการตลาดและการรวมกลุ่มสหกรณ์ นโยบายสาธารณะทีภาครัฐควรส่งเสริม เช่น กาหนดแนวทางให้สินเชือเกษตรกร การประก ํ นราคา การ ั ส่งเสริมด้านการวิจัยและพัฒนา การกาหนดให้ข้าวหอมมะลิเป็ นยุทธศาสตร์ชาติ การท ํ ่องเทียวเชิงเกษตร ตลอดจนดําเนินตามกระแสพระราชดํารัสขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทีทรงตรัสไว้เกี ยวกบั ชาวนาและข้าวไทย

abstract:

ABSTRACT Title Thai Hom Mali Rice and Economic Sustainability: The Case of Roi – Et Province Field Economics Name Mr. PASIN KOMOLVICH Course NDC Class 56 The purposes of this research were: +) to study on Thai Hom Mali rice’s role as agricultural product which is regarded as essential to economic development /) to study on the effect of Thai Hom Mali rice over economic sustainability 0) to study on the effect of the fluctuation of the price of Thai Hom Mali rice over the factors of production and 4) to suggest on the guidelines on development and measures to resolve the problems of Thai Hom Mali rice for economic sustainability. By using qualitative research methods, deeply research on related documents and selected target groups interviews of 30 individuals selected target groups, including government officials, stakeholders, and Thai Hom Mali rice-farmers will be focused. The research has found that, in general, Thai Hom Mali rice plays an active role over Roi – Et’s economy, particularly, in terms of geographical characteristics, tastefulness, and culture in the province. The Hom Mali rice of Roi – Et has its main features, such as, pest-free endurance, less￾attentive, and ability to be planted in ‘Toong Gu La Rong Hai’. Morever, its tastefulness, sticky and soft feel, quality, and jasmine-like aroma are among its distinctive points. Thai Hom Mali rice can be affected by following difficulties. The spreading of pests, the lack of soil abundance, the lack of natural water resources, the lack of marketing management, the contamination of rice seeds, and the fluctuation of the factors of production. Rationale for the selection of Thai Hom Mali rice’s production is its selling prices, compared with other rice seeds. Its tastefulness can only be found when planted in ‘Toong Gu La Rong Hai’. Farmers will be poorer and be in debt, both at household and provincial level. The migration from agricultural to other sectors of production will be seen. These affect the whole economic system, purchasing ability, and will even bring the social and some other problems to the province. The study would like to suggest that, there should be the promotion of the natural plantation of Thai Hom Mali rice, establishment of natural disasters plan, and expansion of irrigation system. As for the direction to develop the Roi – Et’s Thai Hom Mali rice.