Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ศุภธัช นรินทรภักดี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พันเอกศุภธัช นรินทรภักดี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ (๑) เพื่อศึกษา แนวคิด ทฤษฎี การพัฒนาหลักสูตร (๒) เพื่อศึกษาการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรเสนาธิการทหาร (๓) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนา หลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ประกอบด้วย ระดับผู้บริหารระดับสูง จ านวน ๔ ท่าน ได้แก่ รองผู้บัญชาการสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รองเสนาธิการสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ เสนาธิการวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ผู้วางแผนการสอน ได้แก่ ผู้อ านวยการกองของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร จ านวน ๘ ท่าน และผู้เข้ารับการศึกษาทั้งที่ก าลัง ศึกษาและจบการศึกษาไปแล้ว จ านวน ๙ ท่าน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แตกต่างกันตามต าแหน่ง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์จากเอกสารและจากการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า สภาพหลักสูตรการเรียนการสอนของหลักสูตรเสนาธิการทหาร ในภาพรวมมีความเหมาะสมสอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎี การพัฒนาหลักสูตร ทั้งในด้านการจัดการหลักสูตร ที่เป็นไปตามความมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาวิชาในหลักสูตร มีความเหมาะสมครอบคลุมตามความ มุ่งหมายของหลักสูตร แต่ยังมีข้อขัดข้องบางประการเกี่ยวกับการจัดรูปแบบการเรียนการสอน ซึ่งมีการ บรรยายมากเกินไปและการจัดการเรียนพร้อมกันหลายหมวดวิชา ท าให้เกิดความสับสนและ ไม่ต่อเนื่อง ด้านสิ่งอ านวยความสะดวกยังไม่มีความสมบูรณ์เท ่าที ่ควร ทั้งในด้านกายภาพและ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านบุคลากรในระดับผู้บริหารและอาจารย์ยังมีข้อจ ากัดในการบริหารงาน และความต่อเนื่องในการปฏิบัติงานและพัฒนาก าลังพล ส าหรับผู้เข้ารับการศึกษามีอายุมากเกินไป และไม่มีภาคเอกชนเข้ารับการศึกษา แนวทางในการพัฒนานั้น ต้องปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้มีการสัมมนามากขึ้น และจัดวิธีการสอนเป็นแบบเรียงหมวดวิชา เพื่อให้เกิดความเข้าใจง่ายและต่อเนื่องและปรับปรุง สิ่งอ านวยความสะดวกด้านกายภาพและเพิ่มเทคโนโลยีสารสนเทศให้มากขึ้น ด้านบุคลากรต้องแก้ไข นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนระดับผู้บริหาร อาจารย์ และคุณสมบัติของผู้เข้ารับการศึกษา

abstract:

ABSTRACT Title The Development of Joint Staff Course Field Military Name Colonel Supathat Narindarabhakdi Course NDC Class 59 The purpose of this research is 3 dimensions, 1’st, To study the theory which describe the curriculum development. 2’nd, Study the education management of The Development of Joint Staff Course. 3’rd, Determine the best way to develop The Development of Joint Staff Course. The sample used in this study consisted of the executive level including instructors and learners. Obtained by using the purposive sampling technique. Data were gathered from documents and interviews. The data were then analyzed using the method of making conclusion from the documents and analytical summary from responses to these interviews. The results showed that, the over all of this course is synchronized with the curriculum development. The success of the course objective, the curriculum in line with its course objectives and the appropriateness of education management. But there are also some limitations with respect to education management, which have too many lectures; multiple courses cause confusion and discontinuity. Facilities and also information technology haven’t as perfect as it should be. Personnel at the executive level and instructors have limitations in their management, continuity of work and personnel development. The age of study participants are too old and no businesses sector attended. The guidelines to develop The Development of Joint Staff Course. Must be adjusting the study pattern to have more seminars and sequential courses management. Improve the facilities and information technology. Personnel must be revised the policies related to rotation of executive level and instructors and qualification of study participants.