เรื่อง: แนวทางการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 แก่นักเรียนเตรียมทหาร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ศิราวุฒิ วงศ์ขันตี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ แกนักเรียนเตรียมทหาร
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พลตรีศิราวุฒิ วงศขันตี หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาวิเคราะหกระบวนการ รูปแบบการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนเตรียมทหาร เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ แกนักเรียนเตรียมทหาร
ซึ่งสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ๒๐ ป พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๙ และแผนการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๔ ในการเก็บรวบรวมขอมูลใชการสัมภาษณ และแบบสอบถามแนวทางการพัฒนา
ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ แกนักเรียนเตรียมทหาร แกผูบริหารดานการศึกษาของโรงเรียนเตรียมทหาร
จากการวิจัยพบวา แนวทางการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ แกนักเรียนเตรียมทหาร ประกอบดวย
ดานนโยบายการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และ
สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู
ดานนโยบายการศึกษา โรงเรียนเตรียมทหารสงเสริมครู อาจารย และผูที่ทําหนาที่สอน
ใหไดรับการพัฒนาทักษะดานเทคนิคการสอน การวัดและประเมินผล ความรูดานเทคโนโลยีโดยจัด
การเรียนการสอนที่สงเสริมใหนักเรียนเตรียมทหารไดรับการพัฒนาความรู ทักษะดาน
ภาษาตางประเทศ ปลูกฝงนักเรียนเตรียมทหารใหเขาใจบทบาทของทหาร ตํารวจ เพื่อพิทักษรักษา
เอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ ผลประโยชนของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีการบูรณาการดานการศึกษาระหวางวิชาการกับวิชา
ทหาร-ตํารวจ รวมทั้งสรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษา องคกรหรือหนวยงานทั้ง
ในประเทศและตางประเทศ เพื่อพัฒนาดานการศึกษาของโรงเรียนเตรียมทหาร
ดานหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล โรงเรียนเตรียมทหาร
ดําเนินการปลูกฝงทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ แกนักเรียนเตรียมทหาร ทั้งดานทักษะดานการเรียนรูและ
นวัตกรรม ทักษะดานสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยีและทักษะดานชีวิตและอาชีพ ดวยกระบวนการสอน
แบบการเรียนรูผานการทํางาน (Work-based Learning) การเรียนรูผานโครงงาน (Project-based
Learning) การเรียนรูผานกิจกรรม (Activity-based Learning) และการเรียนรูผานการแกปญหา
(Problem-based Learning) และมีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายตามสภาพจริง
ดานสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูโรงเรียนเตรียมทหาร ไดดําเนินการพัฒนา
หองสมุด และพัฒนาปรับปรุงระบบสารสนเทศใหทันสมัย เพื่อสนับสนุนการศึกษาคนควาของนักเรียน
เตรียมทหารเพื่อเสริมสรางทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines for Developing Pre-cadets’ 21st Century Skills
Filed Social –Psychology
Name Siravuth Wongkantee, Major General Course NDC Class 59
The purpose of this research is to study and analyze the learning process and structure
of the Armed Forces Academies Preparatory School (AFAPS). The research results will be used to
provide essential guidelines and information for the pre-cadets’ 21st century skills development, in
alignment with the 20 year national strategic and national education plans from 2017 to 2031. The
study is based on interviews and answers to questionnaires given to the pre-cadets and administrative
officers of AFAPS. Overall, the study shows that the guidelines for developing pre-cadets’ 21st
century skills comprise the review of the school’s education policy, curriculum, teaching and
learning process, learning assessment, and creating the learning atmosphere
For the education policy, the school should promote teachers’ professional
development so they can improve their teaching techniques, learning assessments, and technological
know-how. It is necessary that the teaching staff provide pre-cadets with learning opportunities in
foreign language skills, the total understanding of the roles and responsibilities the military and
police forces have in protecting the nation’s interest, security, constitutional monarchy and the
learning integration of the academic and military-police education. In addition, building networking
opportunities and cooperation among academic institutions nationwide and worldwide is necessary
in order to promote the school’s educational excellence.
Additionally, for the curriculum and the learning and assessment processes, it is vital
that the school provide the pre-cadets with the 21st century skills training, both in proper learning
methods and technology usage education. Using information and social media skills in their day to
day lives and careers is essential, and therefore, should be introduced through activity-based and
problem-based learning activities with authentic assessment methods.
Lastly, for creating the learning atmosphere, it is required that the school modernize the
library and information system so that the students and teaching staff have access to unlimited
learning resources and therefore pre-cadets’ can acquire the necessary 21st century learning skills.