เรื่อง: การพัฒนาขีดความสามารถในการรับมือกับภัยคุกคารรูปแบบใหม่ของศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ศรายุธ ทองกูล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาขีดความสามารถในการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ของ
ศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติ
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายศรายุธ ทองกูล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่59
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพปัจจุบันและการด าเนินงาน ปัญหา
และอุปสรรค และแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการของ
ศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติในฐานะเป็นกลไกการบูรณาการงานด้านความมั่นคง โดยใช้การวิจัย
เชิงคุณภาพ ด้วยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้บริหาร และที่ปรึกษา
ของศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติตลอดจนการวิเคราะห์ SWOT จากผู้ประสานงานในประชาคม
ข่าวกรอง และวิเคราะห์ข้อมูลตามกรอบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและสรุปข้อมูล โดยการ
บรรยายเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบว่าศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติยังมีข้อจ ากัดหรืออุปสรรคต่าง ๆ
ที่ท าให้ไม่สามารถขับเคลื่อนการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีปัจจัยที่เป็น
อุปสรรคคือ ปัญหาด้านบูรณาการที่เกิดจากความแตกต่างกันในลักษณะสายการบังคับบัญชา ปัญหา
เชิงโครงสร้าง ปัญหาเชิงนโยบาย ปัญหาการปฏิบัติงานและการประสานงาน ปัญหาด้านเทคโนโลยี
และการสื่อสาร นอกจากนี้ การที่ศูนย์ประสานข่าวกรองแห่งชาติจะมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น
เพื่อรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จ าเป็นต้องปรับปรุงและให้ความส าคัญ
ด้านงบประมาณ ด้านเทคโนโลยี ด้านก าลังคน ด้านวัฒนธรรมและค่านิยมองค์กร ขณะเดียวกัน
ควรมีการด าเนินการในเชิงยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูล ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาคนให้มีศักยภาพในการปฏิบัติภารกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้าน
การข่าว และยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารการมีส่วนร่วมของเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกภาคส่วน
ทั้งภาครัฐ ประชาชน ภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ โดยมีปัจจัยที่จะน าไปสู่ความส าเร็จในการพัฒนา
ขีดความสามารถเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ หลักความน่าเชื่อถือ หลักความไว้วางใจและการยอมรับ
และหลักการแลกเปลี่ยนข้อมูล
abstract:
ABSTRACT
Title : The Development Capability to cope with the New Threats for
National Intelligence Coordinating Center
Field : Strategy
Name : Mr. Sarayut Thongkool Course NDC Class 59
The purpose of this research was to study the current status and
operations, problems and obstacles and guidelines in developing the integrated
operational capabilities of the National Intelligence Coordinating Center as a security
integration mechanism. This study was qualitative research which was conducted by
collecting from documents concerned and an interviewing key informants who were
the executives of the National Intelligence Coordinating Center and SWOT analysis
for contact persons in the intelligence community. The data were analyzed by using
qualitative research and was presented by descriptive analysis. The results found
that the National Intelligence Coordinating Center has limitations or obstacles that
cannot be effectively integrated. It consists of integration problems caused by
differences in the type of command line, structural problems policy issues,
operational problems and coordination technology and communication issues.
In addition, having increased capabilities of the National Intelligence Coordinating
Center to cope with the new threat effectively, technology. budget, manpower,
culture and corporate values should be improved. Moreover, giving the strategies
of the capabilities development for organizational level consisted of Strategy 1 :
organizational restructuring, Strategy 2 : adjusting the paradigm on information sharing,
Strategy 3 : potential development for mission, Strategy 4: development of database,
and strategy 5 : the management of participation concerning the public, private sectors,
and state enterprises. The critical success factors for the development of integrated
capabilities should be in the principles of operational reliability, trust and acceptance,
and sharing information.