เรื่อง: แนวทางการพัฒนารูปแบบการฝึกทหาร เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ศตวรรษ รามดิษฐ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนารูปแบบการฝึกทหาร เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่
: ภัยคุกคามด้านไซเบอร์
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรีศตวรรษ รามดิษฐ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. เพื่อศึกษารูปแบบของ
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ Cyber Attack ในลักษณะต่างๆ ๒. ศึกษา/วิเคราะห์ระบบการฝึกทหารใหม่
ของทหารกองประจ าการในกองทัพบกไทย ๓. เสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการฝึกทหารใหม่
เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ Cyber Attack ด้วยการเพิ่มเติมรายการฝึกอบรมบางรายการเข้าไป
โดยใช้การเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยผู้วิจัยได้ท าการศึกษาเกี่ยวกับ
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ Cyber Attack ตลอดจนผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ รวมถึงได้ศึกษา
เกี่ยวกับระบบการฝึกทบทวนทหารใหม่ในปัจจุบันของกองทัพบกไทย ตลอดจนเก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ
(Primary Data) ซึ่งเกิดจากท าการสัมภาษณ์และกระท าแบบสอบถามของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ
กา รฝึกทหา รใหม่ และบุคคลที่เป็นผู้บังคับบัญชาของทหา รกองประจ ากา ร หลังจ ากจบ
การฝึกทหารใหม่ หน่วยงานที่น าข้อมูลจากทุกแผนกมาท าการวิเคราะห์ เพื่อเสนอเป็นแนวทาง
ในการติดตามรูปแบบการฝึกทหาร เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ต่อไป ส าหรับผลการวิจัยพบว่า
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ Cyber Attack นั้นมีผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติอย่างร้ายแรง
และกองทัพบกก็เป็นเป้าหมายการท าลายที่ส าคัญ เนื่องจากเป็นเสาหลักของงานด้านความมั่นคง
ของชาติส าหรับการฝึกทหารใหม่ในปัจจุบัน ยังคงเป็นการฝึกรูปแบบเดิมๆ มุ่งเน้นก าลังพลให้ปฏิบัติ
หน้าที่ต่างๆในหน่วยก าลังรบ และหน่วยอื่นๆ โดยไม่มีเนื้อหาการฝึกที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้าน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่แม้แต่น้อย ดังนั้นการบรรจุรายการฝึกที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านปฏิบัติการ
Cyber Attack จึงมีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับหลักสูตรทหารใหม่ เพื่อให้ทหารใหม่
มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องมือติดต่อสื่อสาร
ทั้งของบุคคล หรือของหน่วยงาน และมีจิตส านึกในการต่อต้าน Cyber Attack และมีขีดความสามารถ
ในการปฏิบัติงานกับเทคโนโลยีด้านความปลอดภัย ซึ่งจะต้องสนองนโยบายรองรับภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่ Cyber Attack ของกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมอย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นทุกๆหน่วยทหารจะต้องให้ความส าคัญในเรื่องการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
และวินัยในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารให้ก าลังพลในหน่วยอย่างจริงจัง
ซึ่งแนวทางการเสริมสร้างความรู้อาจกระท าได้โดยการจัดการฝึกอบรมให้ก าลังพลในโอกาสต่างๆ
ซึ่งโดยปกติกองทัพบกมีระบบการฝึก - ศึกษา ที่ชัดเจนอยู่แล้วแต่เนื้อหาการฝึก - ศึกษารูปแบบ
ปัจจุบันอาจไม่รองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม ่ด้าน Cyber Attack ซึ่งในงานวิจัยฉบับนี้จะเป็น
การศึกษาวิจัยหาแนวทางในการพัฒนา การฝึกทหารของกองทัพบกให้สามารถรองรับภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่ Cyber Attackข
โดยผู้วิจัยจะเริ่มต้นด้วยการเก็บข้อมูลทุติยภูมิ Secondary Data) โดยการทบทวน
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องใน เรื ่อง เกี ่ย วกับภัยค ุกค า มรูปแบบใหม ่ด้าน Cyber Attack และ
จะท าการศึกษาหาข้อมูล และท าความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการฝึก - ศึกษาของกองทัพบกไทย
โดยมุ้งเน้นไปที่หลักสูตรการฝึกทหารใหม่ตลอดจนการศึกษางานวิจัยในอดีตที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว
หลังจากนั้นจะท าการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) โดยการท าการออกแบบสอบถาม (Questionnaire
Survey) เพื่อเก็บข้อมูล หลังจากนั้นจะน าข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาท าการวิเคราะห์โดยละเอียด
จากการวิจัยพบว่าระบบการฝึก - ศึกษาของกองทัพบกในปัจจุบันยังไม่รองรับภัยคุกคาม
ประเภทดังกล่าว เพราะระบบการฝึก -ศึกษาของกองทัพบกปัจจุบันยังคงมุ่งเน้นไปที่การรับมือภัยคุกคาม
รูปแบบเดิมๆ โดยใช้วิธีการปฏิบัติการทางทหาร ดังนั้นจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะมีการพัฒนาระบบ
การฝึก – ศึกษา ทางทหารโดยเริ่มต้นการด าเนินการโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการฝึก – ศึกษา
ของกองทัพบกซึ่งคือกรมยุทธการทหารบกและ กรมยุทธศึกษาทหารบกจะต้องมีการด าเนินการวางแผน
การก าหนดหลักสูตรการฝึกอบรมร่วมกับศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก และด าเนินการฝึกอบรมอย่างเป็นขั้น
เป็นตอน กองทัพบกควรท าคู่ขนานกันทั้งการบรรจุวิชาดังกล่าวในหลักสูตรการฝึกทหารใหม่ซึ่งจะอยู่
ในวงรอบการฝึกประจ าป และให้ทุกหน่วยจัด Unit School ซึ่งเป็นการฝึกตามความริเริ่มของหน่วย
โดยขั้นแรกวางแผน ก าหนดขอบเขต ความมุ ่งหมายของหลักสูตร กระท า ร ่วมกันระหว่าง
กรมยุทธการทหารบกศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก และกรมยุทธศึกษาทหารบก และเตรียมเปิดหลักสูตร
และเตรียมบรรจุวิชา Cyber ในการฝึกทหารใหม่จะเป็นหน้าที่ของกรมยุทธศึกษาทหารบก ด าเนินการ
เปิดหลักสูตร Cyber กระท าโดยกรมยุทธศึกษาทหารบก โดยหน่วยทหารในกองทัพบก ส่งก าลังพล
มาเข้ารับการศึกษาเพื่อน ากลับไปเปิด Unit School และการฝึกทหารใหม่ที่มีวิชา Cyber บรรจุ
ในหลักสูตรการฝึกจัดโดยหน่วย และประเมินผลโดยหน่วย/ยศ.ทบ.
ผู้วิจัยเชื ่อว ่าหากกองทัพบกมีกา รด าเนินก า รต ามโค รงร ่าง (Frame Work)
ตามที่ผู้วิจัยเสนอนี้ภายในระยะเวลา ๒ ป ก าลังพลในกองทัพบกจะมีความรู้ ความสามารถในเรื่อง
ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สามารถปฏิบัติงานกับเทคโนโลยีของหน่วยงาน
ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยรองรับนโยบายเกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารของกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมได้เป็นอย ่างดี และมีภูมิต้านทานที ่เข้มแข็ง
ต่อภัยคุกคามรูปแบบใหม่ Cyber Attack ในยุคโลกไร้พรมแดน
abstract:
ABSTRACT
Title The Development of Military Training to Encounter Non-tradition Threat :
Cyber Attack
Field Military
Name Maj.Gen.Satawat Ramdit Course NDC Class 59
This Qualitative research has three objectives which are:1.To study about non-tradition
threat: cyber attack, which affects stability of the county 2. To study about training system
of Royal Thai Army3. To suggest the aspect to build perception and conscious for militaryforces in
order to encounter non - tradition threat: cyber attack
The research was done in five mouths, from December 2016 to April 2017, and
focused on specific areas, which are: 1. Non- tradition threat mentioned in this research is Cyber
attack. 2. This research was focused on training system of Royal Thai Army. 3. The effects found in
this research would be about stability only.
The study was applied both primary and secondary data. In addition, the results
could be viewed as follows:
1. Cyber attack affects to the stability of county in three big methods.
1.1 Data Confidentiality
1.2 Data Integrity
1.3 System Availability
2. Currently, every level of government sections prepare themselves to encounter this kind of threat.
3. One of important problems found in this research is that less people in Royal Thai
Army has enough perception and knowledge to encounter this kind of threat.
4.The current training system of Royal Thai Army does not cover this kind of threat.
The researcher has recommended the way to develop military training to encounter
non -tradition threat: cyber attack which could be seen as follows:
Policy level: Directorate of operations and Army cyber center should define cyber attack as
a significant threat and offer thehigher Commander to approve it as an important course for military forces.
Academic level: Army training command and Army cyber center should cooperate
a suitable course.
Operation level: After Army training command has opened the course, Units in Royal Thai
Army send their people to attend the course. Then, they will go back to their units in order to expand the
knowledge to the other military forces. The expanded programmercould be held in term of unit school
also could contain in new recruit training programmer.