Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาศักยภาพเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันทางด้านโลจิตติกส์ของประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิสาร ฉันท์เศรษฐ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง : การพัฒนาศักยภาพเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื อเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขันทางด้านโลจิสติกส์ของประเทศ ลักษณะวิชา : การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย : นายวิสาร ฉันท์เศรษฐ์ หลักส ู ูตร วปอ. ร่นที 59 ุ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก East Economic Corridor (EEC) เป็น ยุทธศาสตร์ที-ภาครัฐต้องการเพิ-มประสิทธิภาพและศักยภาพ เพื-อเสริมสร้างความสามารถในการ แข่งขันทางด้านโลจิสติกส์ของประเทศ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) เพื-อ อนาคตประเทศไทยมันคง มั - งคั - -ง ยังยืน จึงได้มีการก - าหนดทิศทางในการปรับตัวของประเทศ ํ ประกอบด้วย สถานะด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ-งแวดล้อม สถานะ ด้านความมันคง โดยที-โครงการดังกล - ่าว มีจุดมุ่งหมายที-จะเป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษที-ทันสมัยที-สุด ในภูมิภาคอาเซียน เป็ นพืJนที-ยุทธศาสตร์การลงทุน รองรับด้วยความพร้อมของการลงทุน ทางด้าน ทางด้านโครงสร้างพืJนฐาน เพื-อเป็ นการรองรับการเป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศที-พัฒนา ต่อยอดมาจากเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก Eastern Sea Board (ESB) และสร้างความสามารถ ในการแข่งขันให้กบอุตสาหกรรมเดิม First S Curve ได้แก ั ่อุตสาหกรรมยานยนต์ สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อุตสาหกรรมการท่องเที-ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที-ยวเชิง คุณภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมเป้ าหมายใหม่ New S Curve ได้แก่อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื-อการอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเชืJอเพลิง ชีวภาพและเคมีชีวภาพและอุตสาหกรรม ดิจิทัล ในงานวิจัยครัJงนีJ ทําการศึกษาถึงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ทางด้านการ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยเปรียบเทียบกบประเทศในกลุ ั ่ม CLMW รวมถึงมาเลเซีย และสิงคโปร์และศึกษาถึงความพร้อมทางด้านโครงสร้างพืJนฐาน เพื-อพัฒนาขีดความสามารถที-จะ พัฒนาให้เป็ นศูนย์กลางทางด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทย เหมาะแก่การเป็ นศูนย์โลจิสติกส์ของ ภูมิภาค โดยเฉพาะในพืJนที-เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก อีกทัJงมีการเชื-อมโยงกบประเทศเพื-อนบ้าน ั โดยผานทางการลงทุนทางด้านโครงสร้างพื ่ Jนฐานที-ทางภาครัฐได้กระตุ้นเศรษฐกิจ และเสริมสร้าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

abstract:

ABSTRACT Title : Potential Development in Special Economic Zone. To Improve Logistics Competitiveness in Thailand. Field : Economics Name : Course : NDC. Class : 59 Special Economic Zone is a current strategic plan of the Thai government to promote economic growth within ASEAN Community and to deal with a slowdown of world economy. The plan focuses on two phases, and in different provinces. Phase includes ! provinces, which are, Trad, Tak, Mukdaharn, Sakaew, and Songkhla provinces. Phase $ includes another ! provinces which are Kanchanaburi, Chiengrai, Nongkhai, Nakornpanom, and Narathiwat provinces. Special Economic Zone is aimed to create sustainable competitiveness of the country, and also entice new investments from local, and abroad, which would result in, better living standard of the people, and spread out new developments to rural areas. On investor side, several investment benefits will be granted to investors who join these Special Economic Zone programs, to further use Thailand as gateway to other ASEAN countries, which may also be used as supportive production bases; hence, resulting in sustainable growth of overall economy. Presently, the Thai government has promoted these strategic plans in accordance to the National Social and Economic Development Plan No. $ ($, --$,$ ), and also in line with the $, year National Development Strategic Plan. This article is aimed to show the direction of the development of the Special Economic Zone in Phases and $. Keywords : Special Economic Zone, ASEAN Community, National Strategic Plan