Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: รูปแบบของวิสาหกิจเพื่อสังคมของรัฐบาลกับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง วิภาภรณ์ ชัยรัตน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ก เรื่อง รูปแบบของวสิาหกิจเพื่อสังคมของรัฐบาลกบัการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วจิัย นางวิภาภรณ์ ชัยรัตน์ หลกัสูตร วปอ. รุ่นที่59 การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาการด าเนินการวิสาหกิจเพื่อสังคมรูปแบบต่างๆ ใน ประเทศไทย การด าเนินงาน บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีของรัฐบาลในปัจจุบัน เพื่อเสนอรูปแบบของ วิสาหกิจเพื่อสังคม ในการสร้างกลไกการตลาดที่มั่นคงและยงั่ ยืน การพฒั นาเศรษฐกิจและ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาการบริการสาธารณะ และการสร้างความเข้มแข็งให้สังคม โดยใช้ สารสนเทศและแหล่งข้อมูลหลักในการวิจัย คือ เอกสารหลักฐานและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ วิสาหกิจเพื่อสังคม กรณีศึกษาการประชุม การศึกษาดูงานและการสัมภาษณ์เชิงลึกกบั หน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และผู้ทรงคุณวุฒิการวิจยัคร้ังน้ีใช้กระบวนการวิจยัเชิงคุณภาพ เพื่อพัฒนาข้อสรุป ไปสู่ประเด็นยุทธศาสตร์ผลวิจัย พบว่า รูปแบบ โครงการสานพลงัประชารัฐที่อาศยัความร่วมมือ จาก5 ภาคส่วน ไดแ้ก่ รัฐ เอกชน วิชาการ ประชาสังคม และประชาชน เป็ นรูปแบบที่เหมาะสมใน การลดความเหลื่อมล้ า พัฒนาคุณภาพคน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการ ขบั เคลื่อนผ่าน บริษทั ประชารัฐรักสามคัคีสามารถพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยงั่ ยืน แต่ ประเด็นปัญหา คือ การขาดความเชื่อมโยงของบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี และองค์ความรู้ รวมถึง แนวคิด และรูปแบบการท างานยังอิงระบบราชการมากเกินไป ขอ้เสนอแนะการขบั เคลื่อนวิสาหกิจ เพื่อสังคมต่อภาครัฐไดแ้ก่การสร้างการรับรู้และความเชื่อมนั่ ต่อวสิาหกิจเพื่อสังคม เร่งผลกั ดนั ร่าง พระราชบญั ญตัิส่งเสริมวสิาหกิจเพื่อสังคม การเชื่อมโยง บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีความต่อเนื่อง และความชัดเจนในการผลักดันโครงการประชารัฐ ภาคเอกชนให้การสนบั สนุนให้มากข้ึนสร้าง ความเข้มแข็งให้วิสาหกิจเพื่อสังคม และการส่งเสริมองคค์วามรู้ขอ้เสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ไดแ้ก่ ยุทธศาสตร์พัฒนาโครงสร้างและนโยบายสนับสนุนยุทธศาสตร์พัฒนากลไกการสร้างความเข้มแข็ง วิสาหกิจเพื่อสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนากลไกทางการตลาดและความพร้อมภาคเอกชน ยทุ ธศาสตร์การบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบตัิและสร้างความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน

abstract:

ABSTRACT Title Formation of Social Enterprise of the Government and Sustainable Economic Development of the Country Field Economics Name Mrs Wipaporn Chairatana, Course NDC Class 59 The objectives of this research are to study and analyse numerous patterns of the execution of Social Enterprise (SE) in Thailand as well as their current operation system. In addition, it also aims to propose typical types of the Social Enterprise for strengthened and sustainable marketing creation, economic and environmental development, including public debt management and social strengthening by utilising information technology (IT) as well as sources of related information. The aforementioned sources of collective details consist of relevant documents, literature review, case study, meetings, site visits, plus in-depth interviews with both public and private sectors, including qualified and distinguished persons, who have profound knowledge and invaluable experience in those fields. Furthermore, the qualitative method is also applied to this research to develop summations into strategy. With the result of the conducted research, it is indicated that the project, entitled Public-Private Collaboration, formed by five different sectors altogether – public sector, private sector, academics, civil society and people – is suitable for reducing and eventually eliminating differences and inequality and results in social welfare improvement, plus competitive capability increases. Sustainable economic development of the country itself is, moreover, driven by the Public-Private Collaboration. Nevertheless, one of the noticeable issues of the Public-Private Collaboration is in regard to lack of connectivity among themselves and of applicable knowledge as well as thoughts. Additionally, it is found that nowadays the Public-Private Collaboration is mainly based on the bureaucratic system immoderately. The researcher recommends that for driving Social Enterprise effectively and efficiently as anticipated, recognition for and confidence in it are to be gained. Also, the Bill of Social Enterprise Promotion Act is expected to be implemented as soon as possible. More crucially, connectivity among, continuity and explicitness of the Public-Private Collaboration are necessary. The private sector is advised to support Social Enterprise more in terms of knowledge promotion for their future strength. Last but not least, strategy for structure development and policy supporting strategy for developing strength creation of Social Enterprise, strategy for marketing improvement and readiness for the private sector, strategy for integrating policy into practice and encouraging public and private co-operation are listed as strategic recommendations in this research.