Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การตัดสินใจใช้อาวุธปืนในการระงับเหตุ : กรณีศึกษาตำรวจสายตรวจสังกัดตำรวจภูธรภาค 3

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี พงษ์วุฒิ พงษ์ศรี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การตัดสินใจใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุ: กรณีศึกษาตา รวจสายตรวจสงักดั ต ารวจภูธรภาค 3 ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พล.ต.ต.พงษ์วุฒิ พงษ์ศรี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 56 การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อ1. ศึกษาระดับการตัดสินใจใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุ ของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 ในแต่ละสถานการณ์ 2. ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 ในแต่ละสถานการณ์ และ 3. เพื่อศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในการใช้อาวุธปื นระงับเหตุของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยัคร้ังน้ีคือ ตา รวจสายตรวจช้นั ประทวน ซ่ึงมีช้นั ยศต้งัแต่สิบตา รวจตรี ข้ึนไปถึงดาบตา รวจ สงักดั ตา รวจภูธรภาค3จ านวน 388 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเพื่อการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้อาวุธ ปื นในการระงับเหตุ : กรณีศึกษาต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติภาคบรรยาย ประกอบด้วย ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ภูมิหลังของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 พบว่า มีอายุเฉลี่ย 34.77 ปี อายุราชการเฉลี่ย 11.08 ปี โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31 -40 ปี จ านวน 153 คน คิดเป็ นร้อยละ 39.43 มีอายุราชการ 10 ปี และน้อยกว่า จ านวน 232 คน คิดเป็ นร้อยละ 59.79 ช้นั ยศจ่าสิบตา รวจจา นวน 121 คน คิดเป็ นร้อยละ 31.19 ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จ านวน 221 คน คิดเป็ นร้อยละ 56.96 สถานภาพ สมรสและยังอยู่ด้วยกัน จ านวน 212 คน คิดเป็ นร้อยละ 54.64 มีผู้อยู่ในอุปการะ 2 คน จ านวน 142คน คิดเป็ นร้อยละ 36.60 มีประสบการณ์งานสายตรวจ 10 ปี และน้อยกว่า จ านวน 274คน คิดเป็ นร้อยละ 70.62 เคยฝึกอบรมวิชาการสายตรวจเพิ่มเติม จา นวน 205คน คิดเป็ นร้อยละ 52.84 มีปรัชญาในงาน ยุติธรรมที่ว่า “สังคมหรื อชุมชนควรมีส่ วนร่ วมในการช่ วยเหลือผู้กระท าผิด” จ านวน 199 คน คิดเป็ นข ร้อยละ 51.29 และมีความคาดหวังความก้าวหน้าในอาชีพปานกลาง จ านวน 317 คน คิดเป็ นร้อยละ 81.70 2. ต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 มีระดับการตัดสินใจใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุ ในแต่ละสถานการณ์แตกต่างกัน (  สถานการณ์แห่งความแน่นอน = 3.90,  สถานการณ์แห่งความไม่แน่นอน = 3.52 ,  สถานการณ์แห่งความเสี่ยง= 4.06) 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุในสถานการณ์ต่างๆ (สถานการณ์แห่งความแน่นอน, สถานการณ์แห่งความไม่แน่นอน และสถานการณ์แห่งความเสี่ยง) ของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 มีความแตกต่างกัน โดยจ าแนกตามสถานการณ์ได้ดงัน้ี 3.1 มีตัวแปรจ านวน 5 ตวัแปร ได้แก่อายุช้ันยศ ประสบการณ์งานสายตรวจ การฝึกอบรมวิชาการสายตรวจเพิ่มเติม และการคาดหวงัความกา้วหนา้ในอาชีพ มีผลต่อการตดัสินใจใช้ อาวุธปื นในการระงับเหตุในสถานการณ์แห่งความแน่นอนของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ . 01 3.2 มีตัวแปรการคาดหวังความก้าวหน้าในอาชีพเพียงตัวแปรเดียว มีผลต่อการ ตัดสินใจใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุในสถานการณ์แห่งความไม่แน่นอนของต ารวจสายตรวจสังกัด ต ารวจภูธรภาค 3อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.3 ไม่มีตัวแปรต้นตัวใดมีผลต่อการตัดสินใจใช้อาวุธปื นในการระงับเหตุใน สถานการณ์แห่งความเสี่ยงของต ารวจสายตรวจสังกัดต ารวจภูธรภาค 3 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 4. แนวทางที่เหมาะสมในการใช้อาวุธปื นระงับเหตุของต ารวจสายตรวจสังกัด ต ารวจภูธรภาค 3 จากข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย คือ “การใช้อาวุธปื นของเจ้าหน้าที่ต ารวจตามที่ ประมวลระเบียบการต ารวจก าหนดไว้” โดยผู้บังคับบัญชาและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายควรส่งเสริมและ สนับสนุนให้ตา รวจสายตรวจทุกนายไดม้ีการฝึกอบรมวิชาการสายตรวจเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความ ช านาญ ความคล่องตัวในการเข้าจับกุม และลดโอกาสของความผิดพลาดจากผลของการใช้อาวุธปื นยิง ต่อสู้ และผู้บังคับบัญชา ต้องให้ความสนใจในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิด ให้ ค าแนะน าเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองรวมถึงแนวทางในการพัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพ รวมท้งั ให้ก าลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะท าให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีขวัญและก าลังใจในการ ปฏิบัติหน้าที่อย่างเข้มแข็ง

abstract:

Abstract Title : The Decision To Use Firearms : A Specific Study of The Patrol Police in rovincial Police Region 3. Field : Social-Psychology Name : Police Major General Pongwuti Pongsri Course NDC Class56 The objectives of this research were 1. to study level of the decision to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3 in each situation 2. to study factors that affect onthe decision to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3 in each situation and 3. to study guidelines to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3. The samples of the research were 388 non-commissioned officer patrol police in Provincial Police Region 3.The research instrument was questionnaires and the data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean and standard deviation) and multiple regression analysis. The research results were as follow: 1. Most of non-commissioned officers were 31-40 years old, served under the crown less than or equal 10 years, had class rank of Police Sergeant Major, graduated Bachelor Degree and marital status were married. Most of non-commissioned officers had 2 dependants, patrol experiences less than or equal 10 years, experience in patrol training, Philosophy in Criminal Justice that “society or community should be involved in assisting offenders” and career expectations in moderate level. 2. Non-commissioned officer patrol police in Provincial Police Region 3 had different levels of decision to use firearms in each situation. (  certain situation= 3.90,  uncertain situation = 3.52 ,  exigent situation = 4.06) 3. Factors that affect on the decision to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3 in certain situation were age, police ranks, patrol experiences, patrol training and career expectation. They were statistically significant level at .01. Factor that affect on the decision to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3 in uncertain situation was career expectation. It was statistically significant level at .01.2 No factors that affect on the decision to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3 in exigent situation. 4. The guidelines to use firearms of the patrol police in Provincial Police Region 3 was the use of firearms by police rule defined.