Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาให้เป็นสนามบินเชิงพาณิชย์อย่างสมบูรณ์ภายใต้กรอบแนวคิด "One Airport Two Missions"

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี วศินสรรพ์ จันทวรินทร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาสนามบินอู ตะเภาใหเป!นสนามบินเชิงพาณิ แนวทางการพัฒนาสนามบินอู ตะเภาใหเป!นสนามบินเชิงพาณิชย$อย างสมบูรณ$ ย$อย างสมบูรณ$ ย$อย างสมบูรณ$ ภายใตกรอบแนวคิด ภายใตกรอบแนวคิด ภายใตกรอบแนวคิด “One Airport Two Missions” One Airport Two Missions” One Airport Two Missions” ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย ผูวิจัย พลเรือตรี วศินสรรพ$ จันทวรินทร$ หลักสูตร พลเรือตรี วศินสรรพ$ จันทวรินทร$ หลักสูตร พลเรือตรี วศินสรรพ$ จันทวรินทร$ หลักสูตร วปอ. รุ นที่ วปอ. รุ นที่ วปอ. รุ นที่ ๕๙ ๕๙ ๕๙ กองทัพเรือไดรับมอบสนามบินอู ตะเภาจากรัฐบาล เพื่อใชในภารกิจความมั่นคงเป!นหลัก แต เนื่องจากคุณลักษณะที่เหมาะสม กองทัพเรือจึงไดจัดตั้ง การท าอากาศยานอู ตะเภา (กทภ.) เพื่อดําเนินการดานการพาณิชย$ในสนามบินอู ตะเภาตามนโยบายของรัฐบาลดวย ซึ่งที่ผ านมา การดําเนินการ ดานการพาณิชย$ยังไม พัฒนาเท าที่ควร จึงยังไม ส งผลกระทบที่ชัดเจนต อการใชในภารกิจความมั่นคง แต ปHจจุบันรัฐบาลมุ งเนนที่จะพัฒนาสนามบินอู ตะเภาใหเป!นสนามบินเชิงพาณิชย$อย างสมบูรณ$ เพื่อรองรับการเจริญเติบโตดานการบินของประเทศ และจะใชเป!นศูนย$กลางในการดําเนิน โครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) จึงจําเป!นที่กองทัพเรือ จะตองกําหนดรูปแบบการใชประโยชน$พื้นที่ภายในสนามบินอู ตะเภา ใหสามารถใชไดทั้งดานความมั่นคง และดานการพาณิชย$อย างสมดุล ภายใตกรอบแนวความคิด “One Airport Two Missions” โดยวัตถุประสงค$ของการวิจัยจะศึกษาถึง ปHญหาในการใชประโยชน$พื้นที่ของทั้งสองภารกิจใน สนามบินอู ตะเภา ศึกษาและประเมินกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในการพัฒนาสนามบินอู ตะเภาตามแนวทาง ของรัฐบาล และศึกษาแนวทางการใชประโยชน$พื้นที่ภายในสนามบินอู ตะเภาทั้งดานความมั่นคงและ ดานการพาณิชย$ ซึ่งขอบเขตการวิจัยจะศึกษาเฉพาะที่มีการกําหนดเป!นนโยบายของรัฐบาลในการ พัฒนาสนามบินอู ตะเภาใหเป!นสนามบินเชิงพาณิชย$อย างสมบูรณ$แห งที่ ๓ ใน ๑๐ ปVขางหนา โดยมี วิธีดําเนินการวิจัยแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัยพบว า ที่ผ านมา กองทัพเรือไดใชประโยชน$สนามบินอู ตะเภาในภารกิจดานความมั่นคงเป!นหลัก และมีการดําเนินการ ดานพาณิชย$เป!นบางส วน โดยพบว าการดําเนินงานของการท าอากาศยานอู ตะเภายังมีขนาดเล็ก กับมี การใชประโยชน$พื้นที่และอุปกรณ$ดานเครื่องช วยการบิน ทับซอนปะปนกับการปฏิบัติการทางทหารของ กองการบินทหารเรือ จึงมีโอกาสที่จะเกิดปHญหาของทั้งผูปฏิบัติงานและผูรับบริการ เนื่องจากทั้ง ๒ ภารกิจ มีรูปแบบ วัตถุประสงค$ กฎระเบียบ และขอกําหนดที่แตกต างกัน รวมทั้งจะไม สามารถรองรับแนวทาง ของรัฐบาลในการพัฒนาสนามบินอู ตะเภาตามที่กล าวดานบนได จึงควรกําหนดแนวทางการแกปHญหา ในการใชประโยชน$พื้นที่สนามบินอู ตะเภา โดยการกําหนดผังการใชพื้นที่ระหว างการปฏิบัติการทางทหาร และดานการพาณิชย$ใหเหมาะสม ควรปรับปรุงรูปแบบการปฏิบัติงานร วมกันในทั้ง ๒ ภารกิจใหมี ประสิทธิภาพและมีความเป!นเอกภาพมากขึ้น โดยจัดทําเป!นลักษณะขอตกลงร วมในการปฏิบัติ และ ควรปรับปรุงการใชหวงอากาศ การจราจรทางอากาศ และโครงสรางพื้นฐานของสนามบินอู ตะเภา ใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีขอเสนอแนะที่กองทัพเรือจะตองพัฒนาบุคลากรใหมีความเป!นมืออาชีพ ในการดําเนินการ และสามารถปฏิบัติงานไดตามมาตรฐานสากลที่กําหนด รวมทั้งจะตองประเมินและ วางแผนการใชประโยชน$สนามบินอู ตะเภาใหชัดเจน เพื่อใหการใชประโยชน$เป!นไปอย างสมดุล ภายใต กรอบแนวความคิด “One Airport Two Missions” โดยเพียงพอต อการรองรับการพัฒนาดานนโยบาย เศรษฐกิจของรัฐบาลไดอย างมีประสิทธิภาพต อไป

abstract:

ABSTRACT ABSTRACT Title U-TAPAO Airport under the Concept TAPAO Airport under the Concept TAPAO Airport under the Concept of Military Service of Military Service and of Military Service and and Eastern EasternEconomic Corridor Development Projec mic Corridor Development Projec mic Corridor Development Projec Field Economics Economics Economics Name RADM. VASINSAN CHANTAVARIN RADM. VASINSAN CHANTAVARIN RADM. VASINSAN CHANTAVARIN Course NDC NDC NDC Class 59 In the past, the establishment purpose of U-TAPAO international airport was mainly aimed at military service. However, with the outstanding characteristic of its location that probably supports the aviation hub in the regions of Asia in all aspects, thus the government considered to enhance its role, not military service merely, but also commercial one. In this regard, Royal Thai Navy, the organization that mainly is responsible for taking care of U-TAPAO international airport has formulated a guideline to utilize the airport in order to support both missions specified for utmost benefits and appropriate balance. Furthermore, the government has currently stipulated the significant policy to push forward Thailand economy to get sustainable growth and strong development in order to escape from the middle-income trap by setting up New Board of Investment in Eastern Thailand for facilitating the operation of Eastern Economic Corridor Development project (EEC). According to the government policy, U-TAPAO international airport shall be utilized as the main location for carrying out the project which possibly runs the various activities from this action plan to the airport. Therefore, Royal Thai Navy, the organization that directly takes this responsibility, is required to clearly specify the utilization form of U-TAPAO airport area in order to facilitate both military and commercial services to get achievement under the concept “One Airport Two Mission”.