เรื่อง: แนวทางการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังคดีความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ของราชอาณาจักรไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เรืองศักดิ์ สุวารี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการปฏิบัติและพัฒนาผู้ต้องขังคดีความมั่นคงในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนใต้ของราชอาณาจักรไทย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายเรืองศักดิ์ สุวารี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
งานวิจัยเรื่อง “แนวทางการปฏิบัติและพัฒนาผู้ต้องขังคดีความมั่นคงในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนใต้ของราชอาณาจักรไทย” ศึกษาถึงมูลเหตุส่วนบุคคลและสาเหตุเชิงโครงสร้างของการ
ก่อเหตุความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย สภาพและปัญหาเกี่ยวกับผู้ต้องขังคดี
ความมั่นคงในเรือนจ าพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และพยายามก าหนดแนวทางการพัฒนาพฤตินิสัย
ของผู้ต้องขังคดีความมั่นคงที่เหมาะสม เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืนโดยมีจุดประสงค์ให้
ผู้ต้องขังกลุ่มนี้ไม่กลับไปกระท าผิดซ้ าหลังได้รับการปล่อยตัว ผู้วิจัยด าเนินการวิจัยโดยทบทวน
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องทั้งนักจิตวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านรัฐศาสตร์
และผู้เชี่ยวชาญด้านสันติวิธีและความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้เพื่อหาแนวทางในการเก็บ
ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ต้องขังและเจ้าหน้าที่ การเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ต้องขังคดี
ความมั่นคง และการสัมภาษณ์แบบกลุ่มกับกลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าที่ ณ เรือนจ ากลางสงขลา รวมทั้ง
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกในการประมวลผลการวิจัยและเสนอข้อเสนอแนะ
ผลการศึกษาแบ่งเป็น ๔ ส่วนหลักคือ (๑) สาเหตุความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ของประเทศไทยที่แบ่งเป็นแรงจูงใจรายบุคคลและสาเหตุเชิงโครงสร้าง ซึ่งท าให้ผู้ต้องขังฯ
มีความรู้สึกร่วมกันว่าไม่ได้รับความยุติธรรมจากอ านาจรัฐ (๒) สภาพและปัญหาของการปฏิบัติต่อ
ผู้ต้องขังคดีความมั่นคงในเรือนจ า และ (๓) แนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังคดีความมั่นคง ซึ่งให้
ความส าคัญถึงการปฏิบัติต่อที่ไม่ตอกย้ าหรือกระท าการใดๆ ซ้ าหรือใกล้เคียงกับประเด็นสาเหตุต่างๆ
และความคับข้องใจที่ผู้ต้องขังประสบจากสังคมภายนอกก่อนถูกเข้ามาคุมขังในเรือนจ าทั้งในประเด็น
ส่วนบุคคลและประเด็นสาเหตุเชิงโครงสร้างต่างๆ (๔) แนวทางการพัฒนาพฤตินิสัยและการจัด
โปรแกรมอบรมหรือกิจกรรมของผู้ต้องขังคดีความมั่นคงในเรือนจ าที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ต้องขังใน
การก าหนดโปรแกรมหรือกิจกรรมพัฒนาต่างๆ และแนวทางการพัฒนาพฤตินิสัยที่เน้นการฝึกอาชีพ
อย่างจริงจังและเป็นประโยชน์ต่อการออกไปประกอบอาชีพหลังพ้นโทษ และการให้ความรู้ทาง
ด้านข่าวสารและวิชาการ นอกจากนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ยังได้มีข้อเสนอแนะส าหรับการปฏิบัติงานของ
กรมราชทัณฑ์และเรือนจ าต่อผู้ต้องขังคดีความมั่นคง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการปฏิบัติและพัฒนาพฤติ
นิสัยผู้ต้องขังคดีความมั่นคง รวมทั้งข้อเสนอแนะส าหรับการวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวข้องในอนาคตอีกด้วย
abstract:
Abstract
Title Treatment and Rehabilitation Program for Security
Detainees in Southernmost Province of Thailand
Field Strategy
Name Ruangsak Suwaree Course NDC Class 59
“Treatment and Rehabilitation Program for Security Detainees in
Southernmost Province of Thailand” studies individual and systemic causes of the
southern Thai unrest. The paper also examines condition and challenges the security
detainees post on the prison system and provides guidelines for effective treatment
and rehabilitation programs suitable for the specific needs of the detainees.
The treatment and programs aim to prevent recidivism of detainees upon release.
After deliberate literature review, psychology, political science, and
conflict resolution experts, with relevant experiences in the south, were interviewed
to plan data collection process. Choosing Songkla Central Prison, a hub for security
detainees, as a study field, four security detainees were interviewed using semistructure in-depth interview technique. In addition, the author conducted a focus
group discussion with three prison officers directly in charge of managing such
detainees.
Study results are divided into four main parts: (1) individual and systemic
causes of the southern Thai unrest (2) condition and challenges of managing security
detainees in prisons (3) treatment guidelines for handling security detainees, which
focuses on avoiding any conducts that reinforces detainees’ perceived injustice
experiences in the society prior to detainment and (4) rehabilitation program and
activity guidelines, which include detainees in decision-making process. The data also
suggests emphasis on offering vocational training and intellectual discussions.
Furthermore, the study provides operational and policy recommendations for the
correctional services on the treatment and rehabilitation programs of security
detainees in the southernmost province of Thailand.