เรื่อง: การบริหารจัดการระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติเพื่อสนับสนุนและรองรับระบบบัตรร่วม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง รัตนา รัตนะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง การบริหารจัดการระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติเพื่อสนับสนุนแ เรื่อง ละรองรับระบบบัตร
ร วม
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร%และเทคโนโลยี ลักษณะวิชา
ผู(วิจัย นางรัตนา รัตนะ ผู(วิจัย หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค% เพื่อศึกษาป0ญหาและอุปสรรคในการพัฒนาแนวทางการบริหาร
จัดการระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติร วมกันในป0จจุบัน ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการระบบเก็บค า
ผ านทางอัตโนมัติ ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับประเทศไทย และเสนอแนะแนวทางการพัฒนา
ระบบจัดเก็บค าผ านทางอัตโนมัติ ให(สามารถรองรับการเชื่อมต อกับโครงการบัตรร วมของรัฐบาล เป9น
การศึกษาการบริหารจัดการระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติของการทางพิเศษแห งประเทศไทย คือ
Easy Pass และระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติของกรมทางหลวง คือ M-PASS และแนวทางในพัฒนา
เพื่อการเชื่อมต อกับ E-Ticket ของรัฐบาลในอนาคต รวบรวมข(อมูลโดยการศึกษาเอกสาร และ
การศึกษาภาคสนาม ใช(การสังเกตแบบไม มีส วนร วม ในการศึกษาครั้งนี้ใช(ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
ผลการศึกษาสรุปได(ดังนี้ ๑. ป0จจุบันการใช(งานร วมกันระหวางบัตร M-PASS และ Easy
Pass ยังคงเป9นรูปแบบเบื้องต(น ซึ่งเป9นการเปKดให(ผู(ใช(บริการสามารถวิ่งข(ามโครงข ายระหว างกันได(
โดยแต ละหน วยงานยังคงบริหารระบบแยกออกจากกันอย างชัดเจน และการเชื่อมต อเป9นเพียงการ
เชื่อมต อระหว างระบบคอมพิวเตอร%หลัก (CS) ของแต ละหน วยงานเท านั้น ๒. รูปแบบที่เหมาะสมต อ
การพัฒนาระบบบัตรร วมของระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติในอนาคต และต อยอดกับระบบตั๋วร วม
ของ สนข. คือ การให(สถาบันการเงินของรัฐทําหน(าที่เป9นศูนย%จัดการรายได(กลางระบบทางอัตโนมัติ
เพื่อทําการรวบรวมข(อมูลการทําธุรกรรมต างๆ ที่ทําผ านระบบ ETC โดยเป9นผู(ดูแลเงินค าผ านทางแทน
ทั้ง ๒ หน วยงาน (การทางพิเศษแห งประเทศไทย และ กรมทางหลวง) และสามารถรองรับการเปKด
ให(บริการระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติของผู(ให(บริการในระบบทางพิเศษอื่นๆ ๓. ผู(วิจัยได(จัดทําตัว
แบบและข(อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบจัดเก็บค าผ านทางอัตโนมัติ ให(สามารถรองรับการ
เชื่อมต อกับโครงการบัตรร วมของรัฐบาล โดยจะต(องดําเนินการดังนี้ ๑) พัฒนารูปแบบการบริหาร
จัดการบัตรร วมของระบบเก็บค าผ านทางอัตโนมัติ สําหรับผู(ให(บริการทางพิเศษต างๆ เพื่อกําหนดเป9น
มาตรฐานและให(มีการเชื่อมต อในระดับ Central Toll Clearing House (CTCH) ๒) ดําเนินการ
พัฒนาด(านการออกบัตรเพื่อรองรับมาตรฐานกลางระบบตั๋วร วมแมงมุม ซึ่งบริหารจัดการโดยสถาบัน
การเงินของรัฐซึ่งผู(ให(บริการทางพิเศษไม จําเป9นต(องพัฒนาแต อย างใด ๓) การพัฒนาด(านการรับบัตร
โดยระบบบัตรร วมของ ETC สามารถเปKดระบบให(รองรับการเชื่อมต อกับหน วยงานอื่นๆ โดยสามารถ
เชื่อมต อเข(ากับระบบ Central Clearing House ของระบบตั๋วร วมได(โดยตรงผ านระบบ CTCH ทั้งนี้
การพัฒนาเพื่อรองรับระบบมาตรฐานกลางตั๋วร วมแมงมุม จะต(องไม กระทบการทํางานของระบบใน
ป0จจุบัน ซึ่งช องทางอัตโนมัติยังคงเปKดให(บริการตามปกติ แต จะเปKดให(ใช(งานบัตรร วมมาตรฐานแมงมุม
ในช องจ ายเงินสดเท านั้น ซึ่งจะใช(เทคโนโลยีรับบัตรที่เรียกว า Touch and Go เป9นระบบ
Contactless
abstract:
Abstract
Title Electronic Toll Collection System Management for Supporting the Common
Ticket System (E-Ticket)
Field Science and Technology
Name Mrs. Ratana Ratana Course NDC Class !"
This research aims to study the problems and obstacles for the management development
of Electronic toll collection system. To study the effective management approach of Electronic toll
collection system (ETCS) management appropriated for Thailand. To propose suggestions on the
management approach to the development of ETCS in order to support the government E-Ticket.
This research focuses on the connection management of ETCS between Expressway Authority of
Thailand (Easy Pass) and Thai Department of Highway (M-Pass) to support the Government’s
E-Ticket project. This research mainly utilizes a qualitative research approach including
documentary research and field research by non-participant observation
The research results can be concluded as follows. 1) The connection of ETCS
between Easy Pass and M-Pass is not the centralized system. Both ETCS have a completely
separated management but their information of toll collection was exchanged by using their
Central system. 2) The model will apply the E-ticket system by cooperating with a state enterprise
financial institute in order to be the Central Toll Clearing House (CTCH). CTCH is responsible for
collecting all financial data and transactions that are passed into all toll collections systems
including data processing to calculate revenue and balance clearing. Therefore, Thai Government
can apply this model to establish the effective E-ticket system that can support all automatic toll
collection. 3)The effective model of an ETCS will be developed from this research to support the
Government E-ticket project. Firstly, the CTCH and the standardized ETCS have to be
established. Secondly, the collaboration with the state enterprise financial institutions for financial
and transactional operations is the key factor. Finally, the card system to receive all cards from
several service providers has to be created and opened for connecting and data exchanging with
other systems. Furthermore, these systems for issuing and receiving cards have to be specified for
proper, rapid, and efficient connection between the CTCH and all service providers.