Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ฝ่ายปกครองในการจัดการภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย รณภพ เหลืองไพโรจน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถใหแกฝายปกครองในการจัดการภัย พิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยใชชุมชนเปนฐาน . ลักษณะวิชา การเมือง . ผูวิจัย นายรณภพ เหลืองไพโรจน หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59 .. ภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ถือ เปนภัยคุกคาม รูปแบบใหม (Non - Traditional threats) ที่สรางความเสียหายและสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิต ของประชาชนเปนอยางมาก ทําใหรัฐตองสูญเสียโอกาสในการพัฒนาในหลายๆ ดาน กระทรวงมหาดไทยมีภารกิจเกี่ยวของกับการรักษาความสงบเรียบรอยและความมั่นคงภายในของ ประเทศ และเปนผูทําหนาที่ใหบริการสาธารณะดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยตามกฎหมาย และสิ่งที่ทาทายฝายปกครองมากที่สุดคือ การปองกันกอนเกิดภัยเพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิด ขึ้นกับประชาชนใหไดมากที่สุด ซึ่งการปองกันที่ดีที่สุดคือการปองกันภัยโดยมีสวนรวมของชุมชน เอกสารวิจัยสวนบุคคลฉบับนี้ ตองการนําเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถใหแกฝายปกครองในการจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เกิดจากภัยพิบัติจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยอาศัยชุมชนเปนฐาน เพราะเชื่อวา “การใชชุมชนเปน ฐาน”(Community Base) คือ แนวทางที่ดีและยั่งยืนที่สุดในการปองกันภัยคุกคามรูปแบบใหม การศึกษาวิจัยสวนบุคคลในครั้งนี้ มุงศึกษาเฉพาะการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถใหแกฝายปกครองซึ่งเปนขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐในสังกัดกระทรวงมหาดไทย อันไดแกผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ ปลัดอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น กํานัน และ ผูใหญบานในพื้นที่ศึกษา โดยจะนํากรณีศึกษาที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่ตางๆ ทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศมาพิจารณาเพื่อกําหนดตัวแบบที่เหมาะสมในการแกไขปญหาภัยคุกคามรูปแบบใหมที่ เกิดขึ้นในประเทศไทยตอไป โดยเนนศึกษาเฉพาะกรณีภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ผูวิจัยใชวิธีรวบรวมขอมูลจากแหลงความรูตางๆ อันไดแก ตําราและเอกสารที่เกี่ยวของ ตลอดจนการสืบคนจากสื่ออินเตอรเน็ต(Internet) และสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณและ ความเชี่ยวชาญเพื่อนําขอมูลที่คนความาวิเคราะหเชิงพรรณนา(Descriptive Analysis) และเรียบเรียง เปนผลงานทางวิชาการในลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพตอไป ผูวิจัยไดศึกษาและคนพบวาการกระทําและองคความรูที่จําเปนดังตอไปนี้ จะชวยพัฒนา ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถใหแกฝายปกครองในการจัดการภัยพิบัติฯ 1. ตองจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยใชชุมชนเปนฐาน (Community Based Disaster Risk Management) 2. นําความรูเกี่ยวกับการถอดบทเรียนภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในอดีต (Lesson Learned) มา ปรับใชใหเหมาะสมกับสภาพการณ 3. รวมกับชุมชนจัดใหมีแผนที่เสี่ยงภัยในชุมชนหมูบาน (Risk Mapping)ข 4. เมื่อเกิดภัยพิบัติประชาชนตองรูวิธีเอาตัวรอด และชวยเหลือผูอื่นตามศักยภาพที่มีอยู 5. ตองจัดทําฐานขอมูลทรัพยากรดานการจัดการสาธารณภัยในระดับอําเภอ 6. ชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยตองไดรับการสนับสนุนใหมีการนําเทคโนโลยีระบบสถานีตรวจ อากาศอัตโนมัติ (Automatic Weather Station) มาใชในพื้นที่อยางทั่วถึง 7. นํากรณีตัวอยางการปฏิบัติที่เปนเลิศของตางประเทศ (Best Practice) ในการจัดการ ภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ นํามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับ สภาพการณ ในการนี้จึงไดประมวลองคความรูออกมาเปนแนวคิดตนแบบ โดยตั้งชื่อวา “ประชารัฐ รวมใจ ทองถิ่นปลอดภัย ใชชุมชนเปนฐาน บริหารความเสี่ยง” ซึ่งผูวิจัยมีความเชื่อมั่นวาการปฏิบัติ ตามขั้นตอนกระบวนการของแนวคิดตนแบบดังกลาวจะชวยพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถ ใหแกฝายปกครองในการจัดการภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยใช ชุมชนเปนฐานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหแนวคิดตนแบบเกิดผลเปนรูปธรรม ผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. รัฐบาลควรกําหนดให“การลดความเสี่ยงภัยพิบัติของชุมชน โดยการมีสวนรวมของ ชุมชน” เปนวาระแหงชาติ เพื่อนํามาสูความเปนประเทศไทยปลอดภัย (Thailand Safety) ซึ่งเปนไป ตามปฏิญญาเซนได (Sendai Declaration) ในการประชุมสหประชาชาติระดับโลกวาดวยการลด ความเสี่ยงจากภัยพิบัติครั้งที่ 3 (The Third United Nations World Conference in Disaster Risk Reduction : 3WCDRR) 2. หนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการปองกันและเฝาระวังปญหาภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ตองเปนหนึ่งเดียวกัน ผูวาราชการจังหวัดควรใหความสําคัญและติดตามผลการดําเนินงาน จากการประชุมคณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัดอยางตอเนื่อง กรมปองกัน และบรรเทาสาธารณภัยควรจัดทําหลักสูตรการฝกอบรมเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการ จัดการภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยเนนที่ กระบวนการมีสวนรวม ของชุมชน 3. อําเภอและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ถือเปนหนวยงานที่สําคัญ ที่จะนําพานโยบาย ของรัฐบาลไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม จะตองรวมดวยชวยกันในพื้นที่ โดยยึดชุมชนเปน เปาหมายรวมกัน และนําโมเดลที่ผูวิจัยไดเสนอไปปรับใชใหสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นที่ตนเอง

abstract:

0