สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
011898
Today :
000197
Total :
047637
Download :
000057
เรื่อง:
การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ฝ่ายปกครองในการจัดการภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย รณภพ เหลืองไพโรจน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ
บทคัดย่อ:
ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถใหแกฝายปกครองในการจัดการภัย พิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยใชชุมชนเปนฐาน . ลักษณะวิชา การเมือง . ผูวิจัย นายรณภพ เหลืองไพโรจน หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59 .. ภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ถือ เปนภัยคุกคาม รูปแบบใหม (Non - Traditional threats) ที่สรางความเสียหายและสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิต ของประชาชนเปนอยางมาก ทําใหรัฐตองสูญเสียโอกาสในการพัฒนาในหลายๆ ดาน กระทรวงมหาดไทยมีภารกิจเกี่ยวของกับการรักษาความสงบเรียบรอยและความมั่นคงภายในของ ประเทศ และเปนผูทําหนาที่ใหบริการสาธารณะดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยตามกฎหมาย และสิ่งที่ทาทายฝายปกครองมากที่สุดคือ การปองกันกอนเกิดภัยเพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิด ขึ้นกับประชาชนใหไดมากที่สุด ซึ่งการปองกันที่ดีที่สุดคือการปองกันภัยโดยมีสวนรวมของชุมชน เอกสารวิจัยสวนบุคคลฉบับนี้ ตองการนําเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถใหแกฝายปกครองในการจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เกิดจากภัยพิบัติจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยอาศัยชุมชนเปนฐาน เพราะเชื่อวา “การใชชุมชนเปน ฐาน”(Community Base) คือ แนวทางที่ดีและยั่งยืนที่สุดในการปองกันภัยคุกคามรูปแบบใหม การศึกษาวิจัยสวนบุคคลในครั้งนี้ มุงศึกษาเฉพาะการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถใหแกฝายปกครองซึ่งเปนขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐในสังกัดกระทรวงมหาดไทย อันไดแกผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ ปลัดอําเภอ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่น กํานัน และ ผูใหญบานในพื้นที่ศึกษา โดยจะนํากรณีศึกษาที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่ตางๆ ทั้งภายในประเทศและ ตางประเทศมาพิจารณาเพื่อกําหนดตัวแบบที่เหมาะสมในการแกไขปญหาภัยคุกคามรูปแบบใหมที่ เกิดขึ้นในประเทศไทยตอไป โดยเนนศึกษาเฉพาะกรณีภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ผูวิจัยใชวิธีรวบรวมขอมูลจากแหลงความรูตางๆ อันไดแก ตําราและเอกสารที่เกี่ยวของ ตลอดจนการสืบคนจากสื่ออินเตอรเน็ต(Internet) และสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณและ ความเชี่ยวชาญเพื่อนําขอมูลที่คนความาวิเคราะหเชิงพรรณนา(Descriptive Analysis) และเรียบเรียง เปนผลงานทางวิชาการในลักษณะของการวิจัยเชิงคุณภาพตอไป ผูวิจัยไดศึกษาและคนพบวาการกระทําและองคความรูที่จําเปนดังตอไปนี้ จะชวยพัฒนา ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถใหแกฝายปกครองในการจัดการภัยพิบัติฯ 1. ตองจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยใชชุมชนเปนฐาน (Community Based Disaster Risk Management) 2. นําความรูเกี่ยวกับการถอดบทเรียนภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในอดีต (Lesson Learned) มา ปรับใชใหเหมาะสมกับสภาพการณ 3. รวมกับชุมชนจัดใหมีแผนที่เสี่ยงภัยในชุมชนหมูบาน (Risk Mapping)ข 4. เมื่อเกิดภัยพิบัติประชาชนตองรูวิธีเอาตัวรอด และชวยเหลือผูอื่นตามศักยภาพที่มีอยู 5. ตองจัดทําฐานขอมูลทรัพยากรดานการจัดการสาธารณภัยในระดับอําเภอ 6. ชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยตองไดรับการสนับสนุนใหมีการนําเทคโนโลยีระบบสถานีตรวจ อากาศอัตโนมัติ (Automatic Weather Station) มาใชในพื้นที่อยางทั่วถึง 7. นํากรณีตัวอยางการปฏิบัติที่เปนเลิศของตางประเทศ (Best Practice) ในการจัดการ ภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ นํามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับ สภาพการณ ในการนี้จึงไดประมวลองคความรูออกมาเปนแนวคิดตนแบบ โดยตั้งชื่อวา “ประชารัฐ รวมใจ ทองถิ่นปลอดภัย ใชชุมชนเปนฐาน บริหารความเสี่ยง” ซึ่งผูวิจัยมีความเชื่อมั่นวาการปฏิบัติ ตามขั้นตอนกระบวนการของแนวคิดตนแบบดังกลาวจะชวยพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถ ใหแกฝายปกครองในการจัดการภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยใช ชุมชนเปนฐานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหแนวคิดตนแบบเกิดผลเปนรูปธรรม ผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. รัฐบาลควรกําหนดให“การลดความเสี่ยงภัยพิบัติของชุมชน โดยการมีสวนรวมของ ชุมชน” เปนวาระแหงชาติ เพื่อนํามาสูความเปนประเทศไทยปลอดภัย (Thailand Safety) ซึ่งเปนไป ตามปฏิญญาเซนได (Sendai Declaration) ในการประชุมสหประชาชาติระดับโลกวาดวยการลด ความเสี่ยงจากภัยพิบัติครั้งที่ 3 (The Third United Nations World Conference in Disaster Risk Reduction : 3WCDRR) 2. หนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการปองกันและเฝาระวังปญหาภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ตองเปนหนึ่งเดียวกัน ผูวาราชการจังหวัดควรใหความสําคัญและติดตามผลการดําเนินงาน จากการประชุมคณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัดอยางตอเนื่อง กรมปองกัน และบรรเทาสาธารณภัยควรจัดทําหลักสูตรการฝกอบรมเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการ จัดการภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติโดยเนนที่ กระบวนการมีสวนรวม ของชุมชน 3. อําเภอและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ถือเปนหนวยงานที่สําคัญ ที่จะนําพานโยบาย ของรัฐบาลไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม จะตองรวมดวยชวยกันในพื้นที่ โดยยึดชุมชนเปน เปาหมายรวมกัน และนําโมเดลที่ผูวิจัยไดเสนอไปปรับใชใหสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นที่ตนเอง
abstract:
0