Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเตรียมความพร้อมด้านการส่งกำลังบำรุงร่วมในภาวะไม่ปกติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี มนต์ ทวีวรรณบูลย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การเตรียมความพร้อมด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วมในภาวะไม่ปกติ (ภาวะสงคราม) ของกองบัญชาการกองทัพไทย ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี มนต์ ทวีวรรณบูลย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การวิจัยเรื่อง “การเตรียมความพร้อมด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วมในภาวะไม่ปกติ (ภาวะสงคราม) ของกองบัญชาการกองทัพไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและปัจจัยที่ส่ง ผลกระทบ และความต้องการด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วมของกองทัพไทยในกรณีการเกิดภาวะไม่ปกติ (ภาวะสงคราม) รวมไปถึงเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาการเตรียมความพร้อมด้าน การส่งก าลังบ ารุงร่วมของกองทัพไทย เพื่อสนับสนุนให้ระบบการส่งก าลังบ ารุงร่วมของกองทัพไทย มีความพร้อม ความทันสมัยและมีประสิทธิภาพต่อการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยในกรณีการเกิด ภาวะไม่ปกติ (ภาวะสงคราม) การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร ด้านเนื้อหา จะน าทฤษฎี หลักนิยม และแนวความคิดเกี่ยวกับระบบการส่งก าลังบ ารุงร่วมของ กองบัญชาการกองทัพไทย และเหล่าทัพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะไม่ปกติ(ภาวะสงคราม) มาใช้ใน การวิจัยเท่านั้น ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นในการเตรียมความพร้อมด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม ของกองทัพไทยที่ผ่านมานั้น มีอยู่ ๙ ปัจจัยหลัก คือ ๑. ปัญหาด้านระเบียบปฏิบัติประจ าด้านการส่ง ก าลังบ ารุงร่วมของกองทัพไทย ๒. ปัญหาการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓. ปัญหาด้าน ยุทโธปกรณ์ ๔. ปัญหาด้านการวิจัยและพัฒนา ๕. ปัญหาด้านงบประมาณ ๖. ปัญหาด้านการฝึกด้าน การส่งก าลังบ ารุงร่วมของกรมส่งก าลังบ ารุงทหาร ๗. การวางแผนระดมสรรพก าลัง ๘. ปัญหาด้าน การจัดท าข้อตกลง (MOU) และ ๙. ปัญหาด้านการเข้าร่วมเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ดั้งนั้น แนวความคิดในการพัฒนาการการเตรียมความพร้อมด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วมของกองทัพไทย ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและก่อให้เกิดการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจนได้ในอนาคต ซึ่งได้จาก ผลการวิจัยครั้งนี้ จึงมีความจ าเป็นต้องพัฒนาใน ๙ แนวทางหลักเช่นกัน ตามปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการวิจัยในครั้งนี้คือ ๑.การด าเนินการปรับปรุง แก้ไข ด้าน ระเบียบปฏิบัติประจ า และการฝึก ๒.การด าเนินการด้านยุทโธปกรณ์ (การจัดซื้อ การท า MOU) ๓. ควรจะมีการท าวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิจัยในเรื่องนี้อย่างต่อเนื่อง เป็นเพื่อเป็นการสนับสนุน ส่งเสริมหัวข้อลักษณะเอกสารวิจัยที่ใกล้เคียงกับหัวข้อในครั้งนี้ต่อไป

abstract:

Abstract Title The Preparation of Joint Logistics in Non-Normal Situation (State of War) of Royal Thai Armed Forces Field Military Name Major General Mont Thaweewannabool Course NDC Class 59 The research of ‘The Preparation of Joint Logistics in Non-Normal Situation (state of war)’ of Royal Thai Armed Forces (RTARF) is aimed to study problems and factors affecting and the demands of RTARF’s joint logistics in non￾normal situation (state of war), and also to provide with the path of the development of joint logistics preparation by RTARF in order to conduct readiness, modernity, and efficiency for the joint operation. This research is a qualitative research with the study and analysis from documents. As for the contents, theories, doctrine, and concepts concerned with joint logistics system of RTARF and other forces in both normal and non-normal situation (state of war) are brought to do research. According to the research, the problems which occurred in the preparation consists of nine factors: 1. the problems from Standing Operating Procedures (SOP) of RTARF’s joint logistics, 2. Problems of IT system using, 3. problems of munitions, 4. Problems of research and development, 5. problems of budget, 6. problems of joint logistics training of Directorate of Joint Logistics, 7. mobilization, 8. problems of making memorandum of understanding MOU, and 9. problems of joining ASEAN Community. Therefore, the effective ideas as to the result of this research for the preparation development of RTARF’s joint logistics require the nine factors to be practical in the future. As the result, there are three suggestions: 1. Adjust and revise the SOP and training, 2. Coping with munitions (procurement and MOU making), and 3. Concerned researches should be done continuously in order to support the similar titles further.