เรื่อง: การพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการเพื่อความมั่นคงของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ภิญโญ ประกอบผล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
- ก - บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการเพื่อความมั่นคงของประเทศ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายภิญโญ ประกอบผล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษานโยบาย วิเคราะหผลการดําเนินงาน และเสนอ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเพื่อใหเกิดความมั่นคงของประเทศ ขอบเขตของการวิจัย
เนนเฉพาะการกําหนดนโยบาย เพื่อกําหนดรูปแบบและแนวทางพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิต
คนพิการ ดําเนินการวิจัยโดยศึกษาวิเคราะหกระบวนการ รูปแบบ และลักษณะของนโยบายการพัฒนา
และสงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ และเปรียบเทียบกับตางประเทศ
ผลการวิจัยพบวาประเทศไทยมีจุดแข็งเกี่ยวกับการพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิต
คนพิการคือ มีกฎหมายและนโยบายดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการที่ครอบคลุม และมีกลไก
การขับเคลื่อนการดําเนินงานทุกระดับ จุดออน คือ คนพิการสวนใหญมีฐานะยากจนทําใหขาดโอกาส
ในการพัฒนาศักยภาพ และการฟนฟูอยางตอเนื่องตั้งแตระยะแรกเริ่ม การเขาไมถึงโอกาสทาง
การศึกษา ทําใหเกิดปญหาการไมมีอาชีพ ไมมีงานทํา สภาพแวดลอมและบริการสาธารณะไมเอื้อตอ
การดํารงชีวิตของคนพิการนอกจากนี้คนพิการสวนใหญยังมีขอจํากัดในการเขาถึงขอมูลขาวสาร
การมีสวนรวม การถูกเลือกปฏิบัติเมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการ พ.ศ.2550 ทําใหเกิดการจางงานคนพิการแตก็ยังไมครอบคลุมเพียงพอ และยังมีบางประการที่
สมควรปรับปรุงแกไขคือ ความหมายของคนพิการที่จะไดรับการจางงาน การนับจํานวนลูกจาง และ
จํานวนสาขาของสถานประกอบการ ตามกฎหมายนี้
ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้ประเทศไทยตองบังคับใชกฎหมายใหเกิดประสิทธิภาพ ยกสถานะ
ของกองทุนสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเปนนิติบุคคล กระจายอํานาจการพิจารณาและ
อนุมัติเงินกูใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น กําหนดเบี้ยยังชีพคนพิการตามความรุนแรงแตละประเภท
และประชาสัมพันธถึงความสามารถของผูพิการในการทํางาน เพื่อนําไปสูการยอมรับ และเต็มใจใน
การจางงานผูพิการ รวมถึงสงเสริมใหคนรูในดานสิทธิการมีงานทํา กระตุนใหคนพิการเขาทํางานใน
ตลาดแรงงานใหมากขึ้น และจัดทําโครงสรางพื้นฐานสําหรับการคมนาคม การสื่อสาร การศึกษา
การสาธารณสุข ที่เอื้อตอการใชชีวิตของผูพิการใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางเต็มศักยภาพ
เชนเดียวกับคนปกติทั่วไป
abstract:
Abstract
Title : “Empowerment of Persons with Disabilities for National
Stability”
Field : Socio-psychology
Researcher : Mr.Pinyo Prakobpol NDC 59
The objectives of this research are to study about policies, to analyze
working performances and to propose a guideline regarding the empowerment of persons
with disabilities for national stability. The boundary of this research focused on policy
making on formats and developing guidelines for improvement of disables’ qualityof life.
The research studied and analyzed procedures, format and characteristics of the
policies as well as internationally comparison.
The research found that the advantages of Thailand regarding this
research topic is the adequate and covered laws and policies as well as mechanism
to drive all levels of related works. However, the drawback is the poverty of most
Thai persons with disabilities, which obstruct them to potentially improve and
continuously recover at the beginning. Education inopportunity makes most of them
jobless. Public services and environments are inconvenience for them to live.
Moreover, most of the disables have information access limitation, lack of interaction
and discrimination problems. After the promulgation of the Act on Empowerment
of Persons with Disabilities B.E.2550, there were more works available for the disables,
nevertheless more jobs were needed. There were still a number of issues to be rectified in
this Act such as the definition of the persons with disabilities to be employed,
employees counting method, and number of branches etc.
The researcher suggests that Thailand must effectively enforce the law,
enhance the empowerment of persons with disabilities fund to be a legal entity,
decentralize the authorities to consider and approve loans to local government
organizations, specify subsistence allowances varied by severities, publically inform
about the abilities of the disables to work in order to gain trust and acceptance
from employers, promote the right to work for them, encourage more disables to
work in labor markets, and finally, improve infrastructure for transportation, communication,
education and public health in order to facilitate the persons with disabilities and
empower them to live normal life with maximum potential.