Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์การเผยแพร่องค์ความรู้ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริสู่ชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปวัตร์ นวะมะรัตน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ ยุทธศาสตร์การเผยแพร่องคค์วามรู้ของศูนยศ์ึกษาการพฒั นาอนั เนืÉองมาจากพระราชดาํริ สู่ชุมชนอย่างยงÉัยืน กรณีศึกษา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อนั เนÉืองมาจากพระราชดาํริ จงัหวดัเชียงใหม่เป็ นการศึกษาถึงรูปแบบ วิธีการดาํ เนินงานเผยแพร่องค์ความรู้ตลอดจนปัญหา อุปสรรคขอ้จาํกดั และเสนอแนะเชิงนโยบายเพืÉอให้การดาํ เนินงานเผยแพร่องค์ความรู้ของศูนย์ ศึกษาการพฒั นาฯเป็นไปอยา่ งสัมฤทธÍิผลต่อเกษตรกรสามารถเสริมสร้างความมันÉ คงทางดา้นอาชีพ และรายไดอ้ยา่ งแทจ้ริงโดยใชร้ะยะเวลาการศึกษาตÊงัแต่เดือนมกราคม-เดือนเมษายน Śŝŝş จากการศึกษาพบวา่ ศูนยศ์ึกษาการพฒั นาห้วยฮ่องไคร้ฯไดด้าํ เนินการศึกษา ทดลองวจิยั มาแลว้รวมทÊงสิ ั Êน ŚŜš เรืÉอง เป็ นผลงานทีÉประสบความสําเร็จแลว้ จาํนวน ŚŘś เรืÉอง และสามารถ นําไปเผยแพร่องค์ความรู้สู่เกษตรกรแล้ว จาํ นวน Şŝ เรืÉอง ในจาํ นวนนÊีมีผลงานวิจยัทÉีโดดเด่น จาํนวน ŚŘ เรืÉองและยงัมีโครงงานศึกษาวจิยั และทดลองในดา้นต่างๆ ทÉีอยูร่ ะหวา่ งดาํ เนินการอยูอ่ ีก เป็นจาํนวนมาก ยุทธศาสตร์สําคญัในการเผยแพร่องคค์ วามรู้ของศูนยศ์ึกษาฯ ทีÉดาํ เนินการอยูใ่ นปัจจุบนั ประกอบด้วย3 แนวทาง ได้แก่การจดัทาํแปลงสาธิตในศูนยศ์ึกษาการพฒั นาฯ การฝึกอบรมให้ ความรู้ทัÊงภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตัิและการส่งเจา้หนา้ทีÉของศูนยศ์ึกษาฯ ไปใหค้วามรู้ในพÊนที ื Éของ เกษตรกรซึÉงเป็ นยุทธศาสตร์ทีÉมีความเหมาะสมในการดาํ เนินการและทาํให้บรรลุวตัถุประสงคใ์น การเผยแพร่องคค์วามรู้ของศูนย์ศึกษาการพฒั นาฯ ไปสู่เกษตรกรไดเ้ป็นอยา่ งดีอย่างไรก็ตามการจะ เผยแพร่องค์ความรู้ดังกล่าวให้กวา้งขวางยÉิงขึÊนจาํ เป็นอย่างยÉิงทีÉจะต้องมีองค์ประกอบสําคญั 3 ประการ(3ดี) ไดแ้ก่ความรู้ดีพนัธุ์ดีและคนดีเมืÉอมีองคป์ ระกอบสําคญั ครบถว้นทÊง ัś ประการแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถนาํ ความรู้ทีÉไดร้ับจากการฝึ กอบรมไปปรับใช้ในทอ้งถÉินของตนเอง ซึÉงถือเป็ น การสร้างเครือข่ายให้เกิดขÊึนระหวา่ งเกษตรกรเกิดการเรียนรู้และการสืÉอสาร Ś ทาง ทีÉทาํให้เกิดการ แลกเปลีÉยนประสบการณ์ทัÊงเชิงวิชาการและการแก้ไขปัญหาต่างๆ เมÉือเกษตรกรเหล่านÊีกลับสู่ ภูมิลําเนาของตนเองก็จะสามารถถ่ายทอดความรู้ไปสู่เพืÉอนเกษตรกร ชุมชน จนถึงการขยาย เครือข่ายให้กวา้งขวางขÊึนไ ปไ ด้ใ นทีÉสุ ดดังนัÊน การเพิÉมประสิ ทธิภาพให้กับองค์ประกอบ śดี ดงักล่าวใหเ้ขม้ขน้ยงขึ Éิ Êนจึงเป็นยทุ ธศาสตร์ทÉีจะนาํไปสู่การเสริมสร้างความมนÉัคงทางดา้นอาชีพและ รายไดใ้หแ้ก่เกษตรกรอยา่ งยงัÉ ยนืต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title The Strategy for the Sustainable Dissemination of the Knowledge Studied at the Royal Development Study Centres to Communities: The Case Study of the Huai Hong Khrai Royal Development Study Centre (RDSC) in Chiang Mai Province Field Strategy Name Mr.Pawat Navamaratna Course NDC Class 56 The Strategy for the Sustainable Dissemination of the Knowledge Studied at the Royal Development Study Centres to Communities: The Case Study of the Huai Hong Khrai Royal Development Study Centre (RDSC) in Chiang Mai Province has an objective to investigate the patterns and implementations of the knowledge dissemination work, to examine the problems, obstacles and restrictions as well as to provide the policy-based recommendations to ensure the effectiveness of the work for the benefits of the farmers in terms of building career and income security. The study covered the period from January to April 2014. According to the findings, the Huai Hong Khrai RDSC has undertaken a total of 249 studies and researches. Among this number, 203 topics have been completed with successful results. 65 out of these have been disseminated among the farmers and 20 from the 65 topics have been acknowledged as the most popular among the farmers. The dissemination of the knowledge compiled and presently implemented in the centres constitutes three important strategies: establishment of a demonstration plot within the centre, training in both theoretical and practical aspects, and dispatch of centre’s officials to give the knowledge at the farmers’ lands. These strategies have proven to be practical and effective to the extent that allows the dissemination effort to reach its aim. Nevertheless, to disseminate the knowledge to a wider range of people needs three important components which are good knowledge, good production inputs and good people. The presence of all these components enables the farmers to apply the knowledge gained on their own farms while building networks among the farmers themselves. The networks promote the two-way learning and communication that facilitates the exchange of knowledge and experiences both in terms of academic matters and practicality in solving the various problems. The farmers can then transfer the knowledge to their fellow farmers in the community which enables the networks to be further expanded. Therefore, enhancing the effectiveness of the three important components will lead to the consolidation of the people’s security in career and income in a more extensive fashion.