Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี พีระพงศ์ วงษ์สมาน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ในประเทศไทย ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย พลต ารวจตรี พีระพงศ์ วงษ์สมาน หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 59 ปัจจุบันปัญหาเรื่องการค้ามนุษย์ (Trafficking in Persons) เป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อ ประเทศไทยเป็นอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม การท่องเที่ยวและการ ลงทุนจากต่างประเทศ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอย่างกว้างขวาง ประเทศไทยได้ พยายามหาวิธีการแก้ไขปัญหาปัญหาการค้ามนุษย์ รัฐบาลไทยมีการปรับปรุงนโยบายเพื่อการแก้ไข ปัญหาการค้ามนุษย์ มีการปรับเปลี่ยนแนวทางการด าเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาในมิติต่างๆ รัฐบาล ตระหนักถึงความส าคัญของปัญหาการค้ามนุษย์จึงได้ก าหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ ผลการวิจัยพบว่า ประเทศไทยมีความคืบหน้าในการด าเนินการต่อต้านการค้ามนุษย์ ซึ่งครอบคลุมทุกมิติตามยุทธศาสตร์ 5Ps ได้แก่ 1) ด้านนโยบาย (Policy) 2) ด้านการด าเนินคดีและ การบังคับใช้กฎหมาย (Prosecution) 3) ด้านการคุ้มครอง (Protection) 4) ด้านการป้ องกัน (Prevention) และ 5) ด้านความร่วมมือ (Partnership) ซึ่งรัฐบาลไทยยืนยันเจตนารมณ์และความ ต้งัใจอย่างแน่วแน่ในการดา เนินการป้องกนัและปราบปรามการค้ามนุษย์อย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการท างานแบบบูรณาการ เพื่อให้การด าเนินการมีประสิทธิภาพและศักยภาพในการ แกไ้ขปัญหาการคา้มนุษยข์องไทยอย่างยงั่ ยืนต่อไป การด าเนินการต่อสถานการณ์การค้ามนุษย์ใน ประเทศไทย พบว่า รัฐบาลไทยมุ่งด าเนินการใน 3 ด้าน คือ 1) การด าเนินคดี2) การคุ้มครอง และ 3) การป้ องกัน นโยบายยุทธศาสตร์ และมาตรการในการป้ องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ในปัจจุบันมี 5 ด้าน คือ 1) ด้านการป้ องกัน (Prevention) 2) ด้านการด าเนินคดี (Prosecution) 3) ด้านการคุ้มครองช่วยเหลือ 4) ด้านการพัฒนากลไกเชิงนโยบายและการขับเคลื่อน 5) ด้านการ พัฒนาและบริหารข้อมูล กลไกบริหารนโยบาย ยุทธศาสตร์และมาตรการในการป้ องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์แบ่งเป็น 2 ระดับ มีคณะกรรมการ 2 ชุด คือคณะกรรมการป้ องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ (ปคม.) และคณะกรรมการประสานและก ากับการด าเนินงานป้ องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์(คณะกรรมการ ปกค.) ส่วนการติดตามและประเมินผล เป็นระยะแบ่งเป็ น 1 ปี 3 ปี และ6 ปี มีการจัดท ารายงานประจ าปี เสนอต่อคณะรัฐมนตรี และเพื่อประโยชน์ในการ ปรับปรุงวิธีการบริหาร การด าเนินงานป้ องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จากทุกภาคส่วน

abstract:

ABSTRACT Topic : The Solutions to the problem of human trafficking in Thailand Field : Strategy Name : Pol. Maj. Gen Peerapong Wongsaman Course NDC Class 59 Thailand currently faces the problem of human trafficking. It becomes serious problem because it has an effect on many aspects; economy, society, tourism, investment, and international relations. Government of Thailand makes an effort to solving this problem by improving the policy and protocol to effectively combat with this issue. Government of Thailand realizes and establishes this problem as national agenda. This study reveals that Government of Thailand has performed coverage all aspects of 5Ps strategies; 1) Policy 2) Prosecution 3) Protection 4) Prevention and 5) Partnership. Government of Thailand intents to prevention and suppression the problem of human trafficking, focus on integration and sustainable protocol. The government, to handle with this problem, focuses on three aspects; 1) Prosecution, 2) Protection, and 3) Prevention. Nowadays, the preventive and suppressive measures of human trafficking consist of 1) Prevention, 2) Prosecution, 3) Protection, 4) Policy improvement and, 5) Information management. Policy management and protocol for solving this problem is separated into two government committees; National Trafficking in Persons Prevention and Suppression Committee and National Coordinating and Monitoring of Anti-trafficking in Persons Performance Committee. Monitoring and evaluation process provide at 1, 3 and 6 years. Annual report is submitted to Council of Ministers for the benefit to improving the protocol of anti-trafficking in Thailand.