Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: มาตรฐานการดำเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พิเชฐ พุ่มพันธ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง มาตรฐานการดําเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าทีของรัฐซึงมิใช่ผู้ดํารงตําแหน่ง ทางการเมือง ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายพิเชฐ พุ่มพันธ์ หลักสูตรวปอ. รุ่นที๕๙ ปัญหาการทุจริ ตคอร์รัปชันเป็ นปัญหาทีเกิดขึนกับประเทศไทยมาเป็ นเวลานาน ก่อให้เกิดผลร้ายเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ การดําเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าที ของรัฐ กรณีกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าทีหรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าทีราชการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติให้เป็ นอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการป้ องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “คณะกรรมการ ป.ป.ช.” ในการไต่สวนข้อเท็จจริง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ จากการศึกษาวิเคราะห์การดําเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าทีของรัฐซึงมิใช่ผู้ดํารงตําแหน่ง ทางการเมืองของคณะกรรมการ ป.ป.ช. พบว่าในการดําเนินการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจใช้ดุลพินิจ พิจารณาส่งเรืองทีมีการกล่าวหาเจ้าหน้าทีของรัฐซึงมิใช่ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองตามมาตรา ๖๖ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ ว่ากระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าทีหรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าทีราชการ ทีอยู่ระหว่าง การดําเนินการให้พนักงานสอบสวนดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รวมทังให้อํานาจพนักงานสอบสวนดําเนินคดีต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยไม่ต้องส่งเรืองมาให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการ ในกรณีทีมีการควบคุมตัวผู้ถูกกล่าวหาไว้ ในเขตอํานาจของศาล จึงทําให้กระบวนการดําเนินคดีอาญาแก่เจ้าหน้าทีของรัฐถูกแบ่งออกเป็ น ๒ รูปแบบ คือการไต่สวนข้อเท็จจริงโดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. และการสอบสวนโดยพนักงาน สอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึงมีกระบวนการดําเนินคดีทีแตกต่างกันและ ไม่เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน จึงมีความจําเป็ นทีจะต้องแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ และกฎหมายทีเกียวข้อง เพือให้กระบวนการดําเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าทีของรัฐซึงไม่ใช่ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองมี มาตรฐาน ทีชัดเจน เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน และไม่ทําให้เกิดการลักลันหรือไม่เท่าเทียมกัน ซึงจะทําให้เกิดความเป็ นธรรมในการดําเนินกระบวนยุติธรรมทางอาญาของไทย

abstract:

Abstract Title Standard of criminal prosecution against public officials without political positions – the cases conducted by inquiry officer Subject Politics Student Mr. PichetPhumphan, Thailand National Defence College (NDC) ‘59 Corruption has been a chronic problem in Thailand for many decades, resulting in various obstacles to the nation’s development. In the criminal prosecution of public official offences of corruption or malfeasance in office, the Constitution provides powers and duties to the National Anti-Corruption Commission (NACC) to conduct inquiry under the Organic Act on Counter Corruption B.E. 2542 (1999). With focus on NACC’s criminal prosecution of public officials who do not hold political position under Section 66 of the Organic Act on Counter Corruption B.E. 2542 (1999), this study found that the NACC may exercise its discretion to forward the active case, or complaint, of corruption or malfeasance in office against the mentioned public officials to inquiry officer under the Criminal Procedure Code for further proceedings. In addition, the NACC may empower such inquiry officer to conduct further proceedings under the Criminal Procedure Code without the need to pass the case back to the Commission. In cases where the accused is detained in the Court’s jurisdictional premise, criminal prosecution against public official therefore could be divided into two forms; namely, fact inquiry conducting by the NACC, and fact inquiry conducting by inquiry officer under the Criminal Procedure Code. Each form gives rise to unique proceeding in different directions. In such connection, it is necessary to amend the Organic Act on Counter Corruption B.E. 2545 (1999) and other related legislation to improve the criminal prosecution against non-political public officers to be of standard, clarity, consistency and equality, and for justice to be served in Thailand’s criminal procedure.