Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างยั่งยืนในรูปแบบประชารัฐ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พัลลภ สิงหเสนี
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคดัยอ เรอื่ ง แนวทางการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยชมุ ชนอยา งยงั่ ยืนในรปู แบบประชารัฐ ลกัษณะวชิา วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ผูวจิยั นายพลัลภ สงิหเสนี หลกัสตู ร วปอ. รนุ ที่ ๕๙ การวิจัยเรื่องแนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอยางยั่งยืนในรูปแบบประชารัฐ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและนําเสนอแนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนในรูปแบบประชารัฐ ที่เหมาะสมกับจังหวัดนครปฐมและขอเสนอแนะแนวทางนําไปประยุกตใชตามบริบทของแตละจังหวัด ใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางยั่งยืน การวิจัยนี้ดําเนินการโดยการวิเคราะหแนวนโยบายแหงรัฐ แผนแมบท การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายของประเทศ และแผนปฏิบัติการ ประเทศไทยไร ขยะตามแนวทางประชารัฐ ประกอบกับการเก็บขอมูลแบบสอบถามจากกลุมตัวอยาง ที่เกี่ยวของ โดยตรงตอการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ไดแก หนวยงานราชการระดับจังหวัด อําเภอ และ ทองถิ่น สถานศึกษา วัด ศาสนาสถานและ ภาคเอกชน เพื่อนํามาวิเคราะหโดยใชหลักการวิเคราะห ชองวาง (Gap Analysis) ใหทราบถึงสถานภาพปจจุบัน ของการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยของจังหวัด นครปฐมเปรียบเทียบกับแผนปฏิบัติการประเทศไทย ไรขยะตามแนวทางประชารัฐ ใน ๔ มิติ ไดแก มิติที่ ๑ เปาหมาย/เปาประสงค มิติที่ ๒ สถานภาพปจจุบัน มิติที่ ๓ สิ่งที่ควรจะเปน และมิติที่ ๔ สิ่งที่ ยังขาดและตองสนับสนุน ผลการวิจัยพบวาในป พ.ศ.๒๕๕๙ จังหวัดนครปฐม มีขยะมูลฝอยเกิดขึ้น ๔๔๒,๓๙๑ ตัน มีขยะมูลฝอยที่กําจัดถูกตอง รอยละ ๕๔.๙ ขยะมูลฝอย ที่กําจัดไมถูกตอง รอยละ ๓๘.๓๔ ขยะมูลฝอยที่นําไปใชประโยชน รอยละ ๖.๗ ผลการวิเคราะหโดยใชหลักการวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) พบวาแนวทางการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยชุมชนอยางยั่งยืนจังหวัดนครปฐม ในรูปแบบประชารัฐ สามารถดําเนินการ ไดดังนี้ ๑) การ ใหความรู ๒) แตงตั้งคณะทํางาน ๓) ประสานงานภาคีเครือขายหนวยงานราชการ วัดศาสนาสถาน สถานศึกษา ภาคเอกชน ๔)ประชาสัมพันธขาวสาร ๕)บรรจุลงในแผนการดําเนินงานของหนวยงานในทุก ระดับที่เกี่ยวของ ๖) การติดตาม ประเมินผลและเชิดชูผลงาน นอกจากนี้ในสวนของขอเสนอแนะเพื่อนําไป ประยุกตใชใหเปนไป ตามบริบทของแตละจังหวัด พบวาควรมีการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรการพัฒนาของ จังหวัดในรูปแบบประชารัฐดานสิ่งแวดลอม ใหเชื่อมโยงดานสังคมและเศรษฐกิจ การจัดการองคความรูและ ขยายผลชุมชนตนแบบ การจัดตั้งบริษัทประชารัฐดานการจัดการสิ่งแวดลอม ใหสามารถดําเนินงาน บริหาร จัดการขยะมูลฝอยไดอยางเปนรูปธรรมสรางมูลคาใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ พลังงาน และสังคม สิ่งแวดลอมที่มีชุมชนปลอดขยะมูลฝอยเกิดขึ้นอยางยั่งยืนตอไป

abstract:

- 11 - ABSTRACT The objectives of this research on the guideline for municipal solid waste sustainable management by Pracharath model are to study and to present the guideline for municipal solid waste sustainable management by Pracharath model for Nakornpathom Province and also for other provinces based on their context to achieve sustainable success. It was carried out by analyzing the National Plan for Solid and Hazardous Waste Management, 2559-2564 B.E. and the Action Plan for Solid Waste-free Thailand by Pracharath Model, 2559-60 B.E. in addition with questionnaire survey of relevant sample groups such as provincial, district and local government organizations, educational institutes, religious institutions and private sectors. Gap Analysis was conducted to understand the current status of solid waste management in Nakornpathom compared to the Action Plan for Solid Waste-free Thailand by Pracharath Model based on 4 dimensions which are 1. Targets/Goals 2. Current status 3. Expectations 4. Lacks and needs. The result showed that in Nakornpathom, 2559 B.E. among 442,391 tons of solid waste: 54.9 % properly disposed, 38.34 % improperly disposed, 6.7 % recycled. 81.73 % of solid waste is from community. Most of responsible people in solid waste management understood 3Rs principles (Reduce, Reuse and Recycle) without implementation due to lack of practical training. The success factor for driving solid waste management is public-private cooperation which is 71.15 %. 42.31 % of obstacles is lack of cooperation. The highest efficiency of communication is broadcasting tower/wired broadcasting. 35.06 % of factor affecting solid waste sorting out is insufficient garbage bins. The key success to solid waste management is training which is 32.70 %. The Gap Analysis revealed the guideline for municipal solid waste sustainable management by Pracharath model for Nakornpathom Province as following: 1) Educating 2) Setting up working committee 3) Coordinating associate parties: government organizations, educational institutes, religious institutions and private sectors 4) Publicizing 5) Adding in the action plan of all related organizations 6) Monitoring, evaluating and promoting. Moreover, Province development strategy policy has to be designated in Pracharath model for environment to connect social and economy, knowledge management and to extend community prototype. The environment social enterprise should be founded to execute solid waste management tangibly adding value in economy, energy and environment for sustainable solid waste-free communities.