เรื่อง: การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน กรณีศึกษาสำนักปลัดกระทรวงกลาโหม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท พันลึก สุวรรณทัต
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง “การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กรณีศึกษา ส านักปลัดกระทรวงกลาโหม”
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พล.ท.พันลึก สุวรรณทัต หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
ด้วยเหตุที่กระทรวงกลาโหม (กห.) มีการด าเนินการตามค าสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
(คสช.) ค าสั่งที่ ๖๙/๒๕๕๗ เรื่อง “มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ
โดยทุกส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐ” และมีการลงนามใน “บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตระหว่าง กห. และส านักงาน ป.ป.ช.” เมื่อวันที่ ๑๓ มิ.ย. ๒๕๕๙ ซึ่ง
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ –
๒๕๖๐) ของ กห. ประสบปัญหาอุปสรรคหลายประการ อีกทั้ง ยังถูกองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ
(Transparency International) จัดอันดับไทยอยู่ที่อันดับ ๑๐๑
เหตุผลข้างต้น ส่งผลท าให้ผู้วิจัยสนใจที่จะท าการวิจัย เรื่อง “แนวทางการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ของส านักปลัดกระทรวงกลาโหม”
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์การทุจริตคอร์รัปชันของไทย วิเคราะห์ประเด็น
ปัญหาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ของส านักปลัด กห. และ
ค้นหาแนวทางในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันของส านักปลัด กห. อย่างเป็นรูปธรรม
โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ
จากการวิจัย พบว่า สถานการณ์การทุจริตคอร์รัปชันของไทยในปัจจุบัน มีแนวโน้มทวี
ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากข้อมูลบ่งชี้ ในปี๒๕๕๙ ซึ่งองค์กร Transparency International
ได้จัดอันดับให้ไทยอยู่ในล าดับที่ ๑๐๑ ซึ่งต่ ากว่าปี ๒๕๕๘ ที่อยู่อันดับที่ ๗๖ ส่วนการทุจริตคอร์รัปชัน
ของข้าราชการทหารนั้น สามารถแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ การส่งส่วย การกินตามน้ า การจ่ายเงินสินบน
และการทุจริตคอร์รัปชันการประมูลโครงการฯ
ส่วนปัญหาอุปสรรคในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ของส านักปลัด กห. นั้น มาจาก
ปัจจัยหลายประการ เช่น ไม่มีส่วนราชการใดรับเป็นเจ้าภาพหลัก ขาดการถ่ายทอดหลักการท างาน
เชิงบูรณาการ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ มีลักษณะเป็นเพียงพันธะสัญญา ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน/
ทับซ้อนกันในเรื่องอ านาจหน้าที่ ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรง ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติไม่ให้ความส าคัญ
นอกจากนี้ ยังพบว่า งานทางด้านการบริหารก าลังพล มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน
มากที่สุด รองลงมาเป็นงานทางด้านการมอบหมายหน้าที่ให้แก่ก าลังพล ส่วนงานทางด้านการปกครอง
บังคับบัญชาก าลังพล การให้บริการแก่ก าลังพล งานหนังสือราชการ และงานธุรการ มีความเสี่ยงน้อย
ที่จะก่อให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน ตามล าดับ
แนวทางในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันของส านักปลัด กห. กล่าวคือ
เชิงนโยบาย: จัดตั้งองค์กรที่ท าหน้าก ากับดูแล และตรวจสอบการท างานของข้าราชการทหารในสังกัดข
อย่างจริงจัง โปร่งใส่สามารถตรวจสอบได้ ระดับองค์กร : มีการสร้างระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
และ ระดับปฏิบัติ : (๑) ควรมีการก ากับดูแลให้ข้าราชการทหารปฏิบัติตามกฏหมายและกฏระเบียบ
อย่างเคร่งครัด (๒) สร้างทัศนคติและค่านิยมการท างานที่โปร่งใส (๓) การน าหลักเกณฑ์ด้านคุณธรรม
จริยธรรมมาใช้ในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการฯ (๔) การปลูกฝังและยกย่องผู้ที่มีความ
ประพฤติดี/ซื่อสัตย์สุจริต และ (๕) ควรมีการตรวจสอบทรัพย์สินของก าลังพลทุกระดับชั้นในสังกัด
abstract:
Abstract
Topic “Prevention and Suppression Corruption Phase 3 (2016 -2021) of the Office
of the Permanent Secretary for Defence headquarters”
Subject strategic
Researcher Lt.Gen. Punluk Suvanada Course NDC Generation 59
Because the Ministry of Defense (MOD) has implemented the order of
The National Council for Peace and Order (NCPO), Order No. 69/2014, “Prevention
and Correction Measures for Corruption and Misconduct. By all government agencies
and government agencies” and is signed on. “Memorandum of Understanding on
Corruption Prevention and Remediation between the Ministry of Defense and the
National Anti-Corruption Commission (NACC)” on June 13, 2016. The driving force of
the National Strategy on Preventing and Suppressing Corruption No. 2 (2013 – 2017)
of the country faced many obstacles and obstacles and was also recognized by the
International Transparency International ranked Thailand at 101
The above reasons. As a result, the researcher is interested in researching
the “Prevention and Suppression Corruption Phase 3 (2016 - 2021) of the Office of the
Permanent Secretary for Defence headquarters” The purpose of this study was to
analyze the corruption situation in Thailand. Analyze issues related to the implementation
of the third phase of the National Strategy (2016 - 2021) of the Office of the Permanent
Secretary, and to find concrete ways to prevent and combat Corruption of the Bureau of
the Permanent Secretary by using qualitative research.
The research found that the current corruption of Thai corruption. There
is a tendency to intensify. As can be seen from the indications in 2016, Transparency
International It ranked Thailand at No. 101, lower than the year 2015, ranked 76
Corruption of corrupt military officials is. It can be divided into 4 categories: tribute,
eating by the water, paying bribes And corruption auction project.
The problem of obstacles in the propulsion of the National Strategy of
the Bureau of Permanent Secretary is due to many factors such as no official agency
to host the main. Lack of integrated broadcasting principles Memorandum of Cooperation
It is just a commitment. Unmatched / overlapping understanding of authority There are no direct authorities. Management and practitioners are not important. High risk
of corruption is greatest. Secondly, the task of assigning duties to the troops. Division
of the military command. Service to the troops Books, bureaucracy, and administrative
work are less vulnerable to corrupt corruption, respectively.
Guidelines for the prevention and suppression of corrupt corruption of
the Office of the Permanent Secretary: Policy Organization level: There is an efficient
and effective monitoring system: (1) Supervision of military officers should follow the
rules. Strict rules and regulations. (2) Transparent attitude and values. (3) Ethical and
moral values. (4) cultivate and honor good conductors; and (5) monitor the assets of
all levels of personnel.