เรื่อง: การปฏิบัติการต่อขบวนการแบ่งแยกดินแดนของไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี พรศักดิ์ พูลสวัสดิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการปฏิบัติการต่อขบวนการแบ่งแยกดินแดนของไทยในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี พรศักดิ์ พูลสวัสดิ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 59
เอกสารวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นจาก
ขบวนการแบ่งแยกดินแดนของไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และวิเคราะห์หาแนวทางการ
ปฏิบัติการต่อขบวนการแบ่งแยกดินแดนของไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีขอบเขตใน
การศึกษาคือ ท าการศึกษาในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อ าเภอของจังหวัดสงขลา
ได้แก่ อ าเภอจะนะ อ าเภอสะบ้าย้อย อ าเภอเทพา และอ าเภอนาทวี กับกลุ่มแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติ
มลายูปัตตานี(BarisanRevolusiNasionalMelayuPatai : BRN) มุ่งศึกษาในประเด็นของมูลเหตุที่
ท าให้เกิดขบวนการแบ่งแยกดินแดน และทัศนคติและพฤติกรรมของขบวนกา รแบ ่งแยกดินแดน
เป็นกา รวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยกา รศึกษ าจ ากเอกสา ร แนวคิด
ทฤษฎีต่าง ๆ ตลอดจนท าการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง คือ อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และแม่ทัพภาค
ที่ 4 ปัจจุบัน อดีต ผอ.ศอ.บต.และ ผอ.ศอ.บต.ปัจจุบัน อดีตผู้น ากลุ่มขบวนการแบ่งแยกดินแดน
และกลุ่มผู้น าขบวนการที่อยู่ในต่างประเทศ และน ามาวิเคราะห์เพื่อเสนอแนวทางการปฏิบัติการ
ต่อขบวนการแบ่งแยกดินแดน ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีสาเหตุ
จากชาติพันธุ์ ศาสนา วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ประชาชนมีความต้องการ เข้ามามีส่วนร่วมใน
การก าหนดวิถีชีวิตของตนเองมากขึ้นกว่าในอดีต และต้องการความเข้าใจและ การยอมรับจาก
ประชาชนไทยทั้งประเทศ ผู้ก่อความรุนแรงได้แสวงประโยชน์จากประเด็นดังกล่าว สร้างความ
ชอบธรรมในการขยายผล และการต่อสู้ด้วยการใช้ความรุนแรง แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การแบ่งแยกดินแดนด้วยการปลูกฝังบ่มเพาะ ถ่ายทอดแนวความคิดต่อเยาวชนผ่านโครงข่าย
ครอบครัว สู่หมู่บ้าน ต าบล อ าเภอ จังหวัด และระบบการศึกษาตั้งแต่ โรงเรียนตาดีกา โรงเรียน
ปอเนาะ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยอาศัยเครื่องมือทุกประเภท เช่น โต๊ะครู อิหม่าม
วรรณกรรมพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก นิทาน/เรื่องเล่าในพื้นที่ เป็นต้น 2. ภัยแทรกซ้อน ซึ่งเชื่อมโยง
กับเงินทุนหมุนเวียนที่ใช้ในการเคลื่อนไหวต่อสู้ข้อเสนอแนะ ภาครัฐจะต้องใช้การบูรณาการร่วมกัน
ทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง ด ารงความมุ่งหมายที่จะเอาชนะต่อแนวความคิดที่ฝ่ายตรงข้ามการได้รับ
การสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ การสนับสนุนจากประชาคมในอาเซียน
และการสนับสนุนจากประชาคมโลก โดยเฉพาะกลุ่มและองค์กรมุสลิมต่าง ๆ ใช้การด าเนินการด้าน
การเมืองและการใช้แนวทางสันติภาพมากกว่าการใช้ความรุนแรง การยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงและยุทธศาสตร์ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะเป็นปัจจัยที่น าไปสู่ความส าเร็จ
และสามารถท าลายความพยายามของขบวนการแบ่งแยกดินแดนของไทยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้
ในที่สุด
abstract:
ABSTRACT
Title The ways to solvethe problem state and the hurdles arising
from the Thai separatist movement in the southern border
provinces
Field Military
Name Major General Pornsak Poonsawat Course NDC Class 59
Study objectives are consist of two objectives as following; first, to
study the problem state and the hurdles arising from the Thai separatist movement
in the southern border provinces. Second, to studythe ways in which the Thai
separatist movement in the southern border provinces. Scope of this study is
divided into 5 areas as; 1. Scope area: studied in Pattani, Yala, Narathiwat, and 4
districts of Songkhla Province in Chana, Saba Noi, Theta and Na Thawi district. 2. For
the scope of the content are consist of 3 folds as 1) the cause of the separatist
movement; 2) the attitudes and behavior of the separatist movement; 3) the
approach to the separatist movement; the population is divided into 4 groups
include of 1) Former generals 4th and Current 4th division Commander 2) Former
BOT Heads of State and Current Border Commander 3) Former leader of the
separatist movement 4) Foreign Leaders 4 Scope of the separatist movement Barisan
RevolusiNasional Melayu Patani (BRN) and 5. the scope of the period started from
2004 to 2017. Research methodology is qualitative method. Results of this study
found that the situation in the southern border provinces are caused by ethnic,
religious, cultural and historical people that they want to be involved in shaping their
way of life more than in the past. In addition, they need to understanding and
acceptance of the people of Thailand. Violinists’ exploit the issue. Justify the
expansion. Also the fight with violence is divided into 2 types as 1) the separation of
land by cultivated. They were trying to transfer ideas to youth through family
networks to villages, sub-districts, provinces and education systems including Taradee
Islamic School Private School by using all kinds of tools such as teacher's desk, folk
literature. Lullaby Tales/stories in the area. 2) Complications linked to working
capital used in combat movements. Public sector recommendations will require
continuous integration across all sectors. The aim is to overcome the opposing
concept. All methods that they use are supported by the people in the southern
border provinces and the ASEAN communities.