เรื่อง: ความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าถ่านหินของประเทศไทย กรณีศึกษาภาคใต้จังหวัดระนอง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พรชัย รัตนเมธานนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดยอ
เรื่อง ความมั่นคงดานพลังงานไฟฟาถานหินของประเทศไทย เรื่อง ความมั่นคงดานพลังงานไฟฟาถานหินของประเทศไทย
กรณีศึกษา ภาคใต จังหวัดระนอง กรณีศึกษา ภาคใต จังหวัดระนอง กรณีศึกษา ภาคใต จังหวัดระนอง
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร+และเทคโนโลยี ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร+และเทคโนโลยี
ผูวิจัย นายพรชัย รัตนเมธานนท+ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 59
ในป5จจุบัน ประเทศไทยยังคงมีปริมาณไฟฟาที่เพียงพอ ในราคาเหมาะสมและมีการผลิตและใช
ไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง แตยังมีความเสี่ยงดานความพอเพียงของก6าซธรรมชาติในการผลิต
ไฟฟา เนื่องจากไทยพึ่งพาก6าซธรรมชาติเป8นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาในระดับสูง และยังมีชองวางในการ
ปรับปรุงประลิทธิภาพการใชพลังงานอยูมาก โดยเฉพาะพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใตที่เกิดเหตุการณ+ไฟฟาดับ เมื่อ
วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ที่กระทรวงพลังงานไดมอบหมายใหการไฟฟาฝAายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)
เรงเสริมสรางความมั่นคงระบบไฟฟา โดยใหเชื่อมตอระบบสงไฟฟาระหวางภาคกลาง/ภาคตะวันตก ภาคใตใน
ระยะยาว
แนวโนมในอนาคตตามแผน PDP-2015 พยายามผลักดันใหมีกําลังการผลิตไฟฟาที่เพียงพอมี
ราคาที่เหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดแรงกดดันตอความตองการและตนทุนของประเทศ โดย
คํานึงถึงความคุมคาของไฟฟาตอการสรางรายไดใหประเทศ รวมทั้ง คํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม แตจะ
สามารถทําตามแผนไดหรือไมนั้นขึ้นอยูกับความสามารถในการหาแหลงเชื้อเพลิงและการสรางโรงไฟฟาใหได
ตามที่วางไว ซึ่งยังคงเผชิญกับความทาทายในหลายดาน
ทางการควรเรงดําเนินการเพื่อใหบรรลุตามแผนงาน และกรอบเวลาที่วางไวในแผน PDP-2015
ซึ่งสามารถกระทําไดโดย
1. สรางความเขาใจและความเชื่อมั่นใหกับประชาชน ถึงความจําเป8นในการกระจายแหลง
เชื้อเพลิงที่ใชผลิตพลังงานไฟฟาทั้งพลังงานนิวเคลียร+และถานหินที่เนนความปลอดภัย และเป8นมิตรตอ
สิ่งแวดลอม
2. สรางความชัดเจนเกี่ยวกับการเปKดสิทธิการสํารวจและผลิตปKโตรเลียม เพื่อดึงดูดการลงทุน
ภาคเอกชนและสรางความมั่นคงทางดานเชื้อเพลิงก6าซธรรมซาติในอนาคต
3. กําหนดใหผูผลิตพลังงานไฟฟาทําการวิเคราะห+ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental
Impact Assessment หรือ EIA) ที่มีความถูกตองและมีระบบควบคุมผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอมที่โปรงใสและไดมาตรฐาน
4. ดําเนินนโยบายพลังงานทดแทนตามแผน AEDP ที่วางไว เพื่อเพิ่มสัดสวนพลังงานทดแทนให
ไดรอยละ 20 ของการผลิตไฟฟาทั้งหมด (ถานหิน)
5. กําหนดมาตรการสงเสริมการประหยัดพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชไฟฟา
ในประเทศ และลดความตองการใชไฟฟาใหไดตามแผน หากประเทศไทยสามารถดําเนินการขางตนไดตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย
พ.ศ. 2558¬2578 (Power Development Plant, 2558) ที่ไดัตั้งไว ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลเพื่อวิเคราะห+
วิจังเชิงคุณภาพเพื่อเสนอแนะเพิ่มโรงไฟฟาถานหินเทคโนโลยีสะอาดอีก 1 แหง ที่อําเภอสุขสําราญ จังหวัด
ระนอง ที่มีชัยภูมิที่เหมาะสมทุกประการ ก็จะสามารถลดตนทุนในการผลิต เพิ่มศักยภาพในการแขงขันของ
ประเทศ รวมทั้งมีการผลิตและการใชพลังงานที่เป8นมิตรตอสิ่งแวดลอม สรางความมั่นคงอยางยั่งยืนทาง
พลังงานใหแกเศรษฐกิจไทย
abstract:
1
ABSTRACT
Title : National Security concerning Lignite Power Generating of Thailand,
Case Study; Ranong Province of South Region
Field : Technology and Science
Name : Mr. Pornchai Rattanamethanont Course : NDC Class : 59
Nowadays, Thailand still contains the adequate power supply at reasonable price
with effective electrical power generating and supply in the satisfactory level. However, the risk of
natural gas adequacy in Power Generating shall be taken into consideration since Thailand
recently needs the bulk of Natural Gas as the fossil fuel supplied to Power Plants excessively.
There is still a large gap to fulfill and improve the performance and consistency of the present
power supply especially in the area of 14 provinces in the South of Thailand. The incident of the
power shut down on 21 May 2013 urged Ministry of Energy delegating The Electricity Generating
Authority of Thailand (EGAT) to initiate the long term plan to accelerate the proficiency of the
power supply system by promoting the power network connectivity across the regions including
the central, western and southern region.
The future trend by Power Development Planning (PDP-2015), the capacity of the
power shall be adequate at the reasonable price with efficiency improvement to alleviate the
concern of the demand, supply and cost of the country. The plan shall mainly focus on the cost
effectiveness of power supply varied by Thailand GDP including the concerning of the local
environmental impact. To follow the plan, if we can whether achieve the goal, the accountability
in exploration of fossil fuel resource and Power Plant establishment as planned shall be concerned
since the country still confronts various factors and challenges as follow;
The government sector shall urge the process to achieve the goal of plan and set out the time frame
in the PDP-2015 by the following procedure;
1. To promote the public trust and understanding the essence of the cluster of fuel
resources supplied to Power Plants, Nuclear Power Plants as well as Lignite Power Plants focusing
on the safety and friendly environment. 2
2. To clarify the public auction process of Energy Resource Exploration and
Petroleum Concession to lure the private sector investment and establish the future security of the
natural gas resources and supply.
3. Power Generators is required to determine the measurement of Environmental
Impact Assessment (EIA) with accuracy and correctness and providing the control system to
mitigate the environmental impact under the acceptable standard and transparency.
4. Compliance with the Renewable Energy Policy under Alternative Energy
Development Plan (AEDP) as set out to increase the proportion of Renewable Energy at 20% of
Total Power Generating (Lignite)
5. To determine the measurement in promotion the energy saving campaign
materially and significantly to enhance the efficiency of Power Supply and Consumption in
Thailand and decrease the demand of Power Supply according to the plan.
If Thailand is capable to operate and follow the above plan under Power
Development Plant of Thailand B.E. 2558-2578 as designated. Researcher has gathered the
information in order to analyze the quality based research to propose the feasibility to build
another Lignite Power Plant in Suksamran District, Ranong Province which shall be the most
suitable strategic location in all aspects. Thailand shall decrease the power generating cost to
enhance the country potential in competitiveness with others and also providing the power
generating and consumption with friendly environment and establishing the sustainable energy
security to serve the economy of Thailand.