เรื่อง: นโยบายต่อผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติ สมดุลระหว่างมิติด้านความมั่นคงและหลักสิทธิมนุษยชนสากล
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง พจมาน รัตนศรีทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคั ดย่อ
เรื่องััััันโยบายต่อผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติั: สมดุลระหว่างมิติด้านความม ่นคงั
และหล กสิทธิมนุษยชนสากลั
ล กษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจ ยัั นางพจมานััร ตนศรีทองััััััััััััหล กสูตรััวปอ.ัััััััััััรุ่นที่ั๕๙
ประเทศไทย ประสบปัญหาในการแบกรับภาระจากผู้หลบหนีเข้าเมืองมาเป็นเวลานาน
และมีความพยายามในการแก้ไขปัญหาในหลายรัฐบาล แต่ด้วยปัญหาดังกล่าวมีความซับซ้อน และมี
ความละเอียดอ่อน นอกจากจะไม่ประสบความส าเร็จแล้วปัญหาดังกล่าวยิ่งทวีความรุนแรงและยากต่อ
การแก้ปัญหามากขึ้น จนในปี ๒๕๕๑ หน่วยงานความมั่นคง โดยสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นหน่วยงาน
หลัก ได้ร่วมกันก าหนดยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบขึ้น โดยก าหนดให้ผู้หลบหนี
เข้าเมืองชาวโรฮีนจาอยู่ในกลุ่มที่มีปัญหาความมั่นคงเฉพาะ และก าหนดมาตรการหลักในการปฏิบัติ
คือการสกัดกั้น และปฏิเสธการเข้าเมืองอย่างเข้มข้น อันเป็นที่มาของข้อกล่าวหาจากองค์กรระหว่าง
ประเทศว่ารัฐบาลไทยได้กระท าการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวโรฮีนจา มีผลต่อ
ภาพลักษณ์ของประเทศไทย และอาจส่งผลเสียต่อสถานะทางเศรษฐกิจ และการเมืองของไทยอนาคต
การศ ึกษาคร ั้งนี้มีว ัตถ ุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การก าหนดนโยบายต่อผู้
โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติที่ผ่านมา ปัญหาที่เกิดจากผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติของประเทศไทย
เพื่อเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติที่เหมาะสมกับประเทศไทย
ผลการศ ึกษาพบว่า การก าหนดนโยบายต่อผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติที่ผ่านมานั้น
เริ่มต้นด้วยการก าหนดนโยบายเชิงรับเพื่อการบริหารผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติเฉพาะกลุ่ม ได้แก่
ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวม้งลาว ผู้อพยพชาวเวียดนามและกัมพูชา และผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า โดยมี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแนวทางส าหรับหน่วยปฏิบัติของฝ่ายความมั่นคงเอง การก าหนดนโยบาย
เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานอื่นจะเกิดขึ้นเมื่อสถานการณ์รุนแรง มีการหลั่งไหลของผู้
หนีภัยจากการสู้รบเข้าสู่ไทยจ านวนมาก จ าเป็นต้องมีการวางแผน และการบริหารที่เหมาะสม ทั้งนี้
ในช่วงแรกการก าหนดนโยบายกล่าวถึงเฉพาะกลุ่มผู้หนีภัยจากการสู้รบเท่านั้น โดยมีหลักการเดียวกัน
คือ ให้ความส าคัญกับการส่งกลับประเทศต้นทาง อาจมีการก าหนดพื้นที่พักพิงชั่วคราวให้อยู่อาศัย
กรณีที่ต้องรอการส่งกลับ หรืออยู่ระหว่างการเจรจาระดับทวิภาคีกับประเทศต้นทาง โดยสิทธิในการ
พิจารณาให้ความดูแล / รับเข้าพื้นที่พักพิงชั่วคราวเป็นของเจ้าหน้าที่ความมั่นคงฝ่ายไทยเท่านั้น
รัฐบาลไทยจะยินยอมให้องค์การระหว่างประเทศเข้ามามีส่วนในการด าเนินการต่อกลุ่มผู้โยกย้านถิ่น
ฐานแบบไม่ปกติต่อเมื่อต้องการการสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ หรือเมื่อได้รับการ
กดดันจากนานาประเทศ
ส าหรับผู้หลบหนีเข้าเมืองทางทะเล (ชาวโรฮีนจา) นั้น มีการก าหนดมาตรการฉพาะ
ขึ้นในปี ๒๕๕๑ เน้นการสกัดกั้น และผลักดัน เมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นทางรุนแรงมากขึ้น มีการ
อพยพจ านวนมาก ฝ่ายความมั่นคงไทยต้องปรับเปลี่ยนท่าทีในการด าเนินการ ล่าสุดประเทศไทยข
ก าหนดท่าทีในการเป็นผู้ประสาน อย่างไรก็ตามยังคงมาตรการเฉพาะไว้ในแนวทางการปฏิบัติซึ่งเป็น
เอกสารชั้น “ลับมาก”
จากการวิเคราะห์ พบว่า เนื้อหาใน SOP. ให้ความส าคัญกับความม ่นคงของชาติ
(National Security) โดยใช้พลังอ านาจด้านการทหารในการปกป้องผลผระโยชน์ของชาติ และ
เนื่องจากการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวโรฮีนจาเป็นการโยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติ การก าหนด
ปฏิบัติการเฉพาะจึงเข้มข้นกว่าปฏิบัติการปกติ โดยมองว่าชาวโรฮีนจาคือภัยคุกคามความมั่นคง และ
การคงมาตรการดังกล่าวไว้แม้จะมีการก าหนดท่าทีใหม่ เป็นสิ่งที่พิสูจน์ว่ากระบวนทัศน์ (paradigm)
ยังไม่เปลี่ยนแปลง
การศ ึกษาคร ั้งนี้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายว่า รัฐบาลไทยจะต้องด าเนินการใน ๓
ระดับ ได้แก่ ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติโดยให้ความส าคัญกับการแก้ปัญหา
ระยะยาว และเห็นว่าควรเป็นความร่วมมือกันของนานาชาติในการแก้ปัญหา
abstract:
ABSTRACT
Title Policyfor Irregular Migrants: Balancingbetweenthe Dimensionof Security
and Universal Declarationof Human Rights
Field Strategy
Name Mrs.Pojamarn Ratthanasrithong Course NDC Class 59
Thailand has indeed undergone with the refugees over a few decades and
Thai governments have been trying to deal with those refugees crisis but its
circumstance remains complicated and unsolved. In 1998, the security agency which is
also created in the National Security Council were together determined the whole
system of solving refugees problem. Rohingya refugees are in security ad hoc policy
and using decisive process to intercept and denied entry to Thailand. It became to the
indictment from international organizations that Thai government have violated the
human rights of Rohingya. Not only the image of the nation, but also the economics
andpolitics of Thailand are affected in the future.
The purposes of this study are to study and analyze the previous policies
for irregular migrants. The problem from the irregular migrants in Thailand for being
proposed the solutions.
According to the result, about the previous policies for irregular migrants
were started with the reactive policies for some specific refugees. They were the
Hmong refugees from Laos, Vietnamese and Cambodia refugees, and Burmese
displaced persons fleeing from fighting. The main purpose was determining the
policies for being the approach for Thai officials. The policies will be assigned for
cooperating with another sectors when it had a conflict or the violent situation. There
were steady flow of the displaced person from fighting came into Thailand, so it must
be have a suitable management and adequate procedure for dealing with them.2
However, there were ad hoc policy for only the displaced person from fighting at the
beginning. It was focused on repatriation to their home countries, offering them the
temporary shelters in case of awaiting for push-back process or in the process of
bilateral negotiation with their home country. The refugees could enter the camps by
Thai officials’ considering only. Thai government will be allowed the international
organizations to provide limited assistance only if they want to help and support
toward the irregular migrants or Thai government was under pressure from foreign
countries.
There was refugees policy ad hoc of maritime movement of the Rohingya
in1998. It was intercept and push-back practices. When the situations in home country
became severe, there were a large number of migrants came into Thailand, security
agency promptly changed the procedures, and Thailand is recently a “coordinator”.
Therefore, Thai government remains using ad hoc policy which is classified as
SECRET.
From analyzed process, the contents in SOP was significant in National
Securityby using military power forprotecting thebenefits of nationand the Rohingya
movement is the illegal migration, therefore the procedures determining would be
more active then usual. In conclusion, Rohingya refugees are dangerous to society and
security of the Kingdom and Thai government has been confirmed about the paradigm
that it has noneed tobe changed.
This study promotes three durable or long-term solutions for refugees into
three levels; national levels, regional levels and international levels. It should be an
international participation for solvingthe problem of refugees altogether.