เรื่อง: มลพิษทางอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ประสิทธิ์ มหากิจ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรือง มลพิษทางอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย ู พ.อ.ประสิทธิ# มหากิจ หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ &'
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ศึกษาสถานการณ์มลพิษทางสิ+งแวดล้อมทางอากาศ วิเคราะห์ผลกระทบต่อสุขภาพ
ของมนุษย์ และเสนอรูปแบบที+เหมาะสมในการบริหารจัดการปัญหามลพิษทางอากาศ
ขอบเขตของการวิจัย
เน้นการวิจัยเฉพาะปัญหามลพิษสิ+งแวดล้อมทางอากาศในกรุงเทพมหานครโดยนําเอา
ผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชนสะท้อนกลับถึงปัญหามลพิษสิ+งแวดล้อม
วิธีดําเนินการวิจัย
ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยในรู ปแบบเชิงผสมผสาน ประกอบด้วย วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative research) วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ตามขDนตอนดังนี ั D
(. การวิจัยเชิงคุณภาพ
ก. เก็บรวบรวมข้อมูล ค่ามาตรฐานของอากาศตามประกาศของพระราชบัญญัติ
ควบคุมมลพิษทางอากาศ ค่ามาตรฐานของอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์กร
ป้ องกนมลพิษแห ั ่งอเมริกา (EPA) ข้อมูลรายงานมลพิษทางอากาศของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลการ
ตรวจสุขภาพประจําปี ของตํารวจจราจรและการรับการบริการรักษาของประชาชนทัวไป +
ข. การสัมภาษณ์ความคิดเห็น ผู้บริหารระดับสูงที+มีหน้าที+รับผิดชอบต่อมลพิษทาง
อากาศ แพทย์ผู้เชี+ยวชาญด้านโรคภูมิแพ้และด้านโรคปอด นักวิชาการด้านมลพิษทางอากาศ
ประชาชนที+ค้าขายข้างถนน ตํารวจจราจร และคนขับรถวินมอเตอร์ไซด์
,. การวิจัยเชิงปริมาณ
แบบสอบถามประชาชนที+อาศัยในพืDนที+เสี+ยง และประชาชนที+มีโรคในกลุ่มเสี+ยง
ผลการศึกษา จากข้อมูลของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร PQ สถานี พบวา ่
มลพิษหลัก ' ตัวแปรพบฝุ่ นละเอียด P.&, QT ไมครอน และปริมาณก๊าซโอโซนยังพบมีปริมาณเกิน
มาตรฐาน สารอินทรีย์ระเหยง่ายโดยเฉพาะเบนซินมีปริมาณเพิ+มขึDน จากการสัมภาษณ์ผู้เกี+ยวข้องได้ความเห็นวา นโยบายและการก ่ ากํ บดูแลตลอดจนการ ั
สร้างความตระหนักและจิตสํานึกในการดูแลเรื+องสิ+งแวดล้อมเป็ นเรื+องสําคัญ ผลแบบสอบถาม การ
สื+อสารทางโทรทัศน์ให้ประชาชนได้รับทราบและเข้าใจปัญหา ตลอดจนมาตรการลดปริ มาณ
รถยนต์ อนุรักษ์สิ+งแวดล้อมเป็ นความจําเป็ นเร่งด่วนในการแกปัญหาดังกล ้ ่าว
สรุป กรุงเทพมหานครยังมีปัญหาในเรื+องมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะฝุ่ นละเอียด ก๊าซโอโซนและ
สารอินทรีย์ระเหยง่าย การปลูกจิตสํานึกให้ทุกคนเห็นความสําคัญของพิษภัยของมลพิษทางอากาศ
โดยเฉพาะการดูแลปัญหาการจราจร ซึ+ งเป็ นสาเหตุหลักในการก่อมลพิษทางอากาศใน
กรุงเทพมหานคร โดยใช้มาตรการลดปริมาณรถยนต์ ส่งเสริมการใช้ขนส่งมวลชนเพิ+มขึDน ให้ทุกคน
ตระหนักถึงหน้าที+ที+ต้องหวงแหนอากาศที+บริสุทธิ#เป็ นหัวใจสําคัญในการแกไขปัญหามลพิษอากาศ ้
abstract:
ABSTRACT
Title Air pollution and human health impact
Field Science and technology
Name Prasit Mahakit Course NDC Class 56
Aim To study the air pollution situation, analysis air pollution impact on human health
and develope appropriate model to manage air pollution
Scope To focus on air pollution in Bangkok and it impact on human health
Method This study was conducted both in Qualitative and Quantitative research as following
1. Qualitative research : To compare 6 criteria pollutant’s standard level of WHO
US EPA, European Community, Japan, china and Thailand, data of 6 criteria
pollution from 21 air pollution monitoring station, data of air pollution related
disease and in depth interview of high rank officer who in charge of air pollution
control, medical specialist in allergy and pulmonary, Air Pollution Specialist
Sidewalk people and traffic police
2. Quantitative research : air pollution related Questionnaire were completed by
people in air pollution-risk area and people who sensitive to air pollution
Result of the study
PM2.5, PM10 and ozone level were overt standard level. Volatile organic compound
especially Benzene had tendency of rising, in depth interview showed the policy, law enforcement
and social concern on environment were key factor to abate air pollution. Survey by
Questionnaire showed public education by Television, vehicle reducing policy and conserved
environment where everybody duty.
Conclusion
Bangkok had air pollution problem especially on PM2.5, PM10 Ozone, VOCs,
Everybody had to acknowledge that it is necessary to reduce vehicle exhaust by vehicle reduction,
promote mass transportation. To clean up air pollution was public duty that need to cooperate.