Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการซ่อมบำรุงเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี ปราโมทย์ ศิริธรรมกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการซ่อมบ ารุงเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลอากาศตรี ปราโมทย์ ศิริธรรมกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙ การวิจัยฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประเภทวิจัยเชิงพรรณนาโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์และประเมินประสิทธิภาพรูปแบบการซ่อมบ ารุงที่เหมาะสม ส าหรับน ามาใช้กับ เฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC725) ของกองทัพอากาศ เพื่อศึกษาปัญหาและข้อขัดข้องของรูปแบบ การซ่อมบ ารุงเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC725) เพื่อศึกษาแนวทางรูปแบบการซ่อมบ ารุงที่เหมาะสม กับเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC725) ขอบเขตของการวิจัย เน้นเฉพาะการส่งก าลังบ ารุงและซ่อมบ ารุงเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC725) ประจ าการอยู่ที่ ฝูง ๒๐๓ กองบิน ๒ จังหวัดลพบุรี โดยศึกษาพิจารณาระบบการซ่อมบ ารุง ที่เป็นมาตรฐานสากล ผลการวิจัย พบปัญหาและอุปสรรคที่ส าคัญในการซ่อมบ ารุงเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC725) ในกรณีที่กองทัพอากาศด าเนินการส่งก าลังบ ารุงพัสดุแบบพึ่งพาตนเอง (Conventional) โดยแยกออกเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่เทคนิค ด้านพัสดุอะไหล่ เครื่องมือและสิ่งอ านวย ความสะดวกต่าง ๆ ด้านการบริหารจัดการในภาพรวม ด้านงบประมาณ จากปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ โดยใช้แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง แนวทางการแก้ปัญหาของกองทัพอากาศ ชั้นน าในต่างประเทศ ได้แก่ กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา กองทัพอากาศสิงคโปร์ การสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้บริหารและมีประสบการณ์ด้านงานซ่อมบ ารุงอากาศยานของกองทัพอากาศ สามารถน ามาประเมิน รูปแบบการซ่อมบ ารุงเฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๑๑ (EC725) ที่เหมาะสม คือ กองทัพอากาศควรน ารูปแบบ การส่งก าลังบ ารุงแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Logistics : PBL) มาใช้งานกับเฮลิคอปเตอร์ แบบที่ ๑๑ (EC725) โดยใช้แนวคิดการจ้างเหมาบริการส่งก าลังบ ารุงแบบ Repair By The Hour (RBH) ซึ่งเป็นรูปแบบที่เป็นมาตรฐานสากล อย่างไรก็ตาม การส่งก าลังบ ารุงแบบมุ ่งเน้นผลงาน (PBL) เป็นเพียงรูปแบบหนึ่งของการแก้ปัญหาการซ่อมบ ารุงอากาศยาน ซึ่งยังมีอีกหลายวิธีในการบริหารจัดการ การซ่อมบ ารุงอากาศยาน ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ท าการวิจัยต่อยอดเพื่อพัฒนาต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title Performance Evaluation Model For Helicopter Maintenance Of The Royal Thai Air Force Field Military Na m e Avm . P ra mo te Sirit hu m gul Co u rse ND C Cl a ss 59 This research can be described as a descriptive research. The purpose are to analyze and evaluate the effectiveness of the proper for helicopter model 11 (EC725). This research also examines problems and suitable maintenance solutions for model 11 (EC725). In addition, the appropriate maintenance helicopter model 11 (EC725) is described in this research. The scope of research is focus on logistic and maintenance for helicopter model 11 (EC725) which is located on 203 squadrons wing 2 in Lop Buri Province. This research emphasizes on studying and considering maintenance system for international standard. This research identifies the significant problems and obstacles of maintenance helicopter model 11 (EC725), in case of Royal Thai Air Force operating logistic method called “Conventional” These problems and obstacles of maintenances helicopter model 11 (EC725) are divided into four perspectives which are technicians, material planers, general management methods and budget. To comprehend these problems and obstacles, this research refers to concepts, theories, the solutions employed by US Air Force and Singapore Air Force and in￾depth interviewing. In term of in-depth interviewing, conducting an interview with the admirals who have Royal Air Force maintenance experience lead to evaluating the appropriate method for helicopter model 11 (EC725). The appropriate method shows that Royal Thai Air Force should implement PBL (Performance Based Logistics), with the international standard concept of RBH (Repair By the Hour), to maintenance helicopter model 11 (EC725). However, PBL is one of several solutions of maintenance air force. Therefore, this could be recommended that further maintenance air force research should be continuously conducted.