เรื่อง: แนวทางการปรับเปลี่ยนพืชทดแทนข้าวนาปรัง เพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งอย่างยั่งยืนในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปราโมทย์ ยาใจ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการปรับเปลี่ยนพืชทดแทนขาวนาปรัง เพื่อแกปญหาภัยแลงอยา แนวทางการปรับเปลี่ยนพืชทดแทนขาวนาปรัง เพื่อแกปญหาภัยแลงอยางยั่งยืน ยั่งยืน ยั่งยืน ใน
พื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา พื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา
ลักษณะวิชา ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ การเศรษฐกิจ การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายปราโมทย. ยาใจ หลักสูตร วปอ. ผูวิจัย นายปราโมทย. ยาใจ หลักสูตร วปอ. ยาใจ หลักสูตร วปอ. รุนที่ รุนที่ รุนที่ 59
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค.เพื่อเสนอแนวทางการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชใชน้ํานอย
หรือพืชทนแลง ทดแทนการปลูกขาวนาปรัง โดยทําการศึกษาขอมูลเชิงพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา รวมกับ
การใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตร. (GIS) และแบบจําลองการปลูกพืช (Crop Modeling) เพื่อพิจารณา
หาแนวทางในการกําหนดพื้นที่เหมาะสมสําหรับปลูกพืชใชน้ํานอยหรือพืชทนแลงที่เหมาะสม
และประเมินผลผลิตพืชทดแทนตามศักยภาพของพื้นที่และวิเคราะห.สถานการณ.ดานภัยแลงตอ
การปลูกขาวนาปรัง โดยใชเครื่องมือ SWOT Analysis และ TOWS Matrix รวมกับการสุมสัมภาษณ.
เกษตรกรดานเศรษฐกิจและสังคม จํานวน 360 คน ในพื้นที่ 6 จังหวัด จังหวัดละ 60 คน ไดแก
ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี อางทอง และสิงห.บุรี
ผลการวิจัยพบวา มีพืช 39 ชนิด ที่มีความเหมาะสมในการปลูกทดแทนขาวนาปรัง
ในพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา จากการสัมภาษณ.เกษตรกรในพื้นที่ พบวา เกษตรกรใหการยอมรับและนิยม
ปลูกพืชทดแทนขาวนาปรัง จํานวน 8 ชนิด ไดแก พริก ขาวโพดหวาน ถั่วลิสง ถั่วเขียว ขาวโพดเลี้ยง
สัตว. ถั่วเหลือง ปอเทืองและงา โดยมีกําไรสุทธิ 14,100 5,200 3,930 2,940 2,052 1,705
1,180 และ 287 บาทตอไร ตามลําดับ ในขณะที่ขาวนาปรังใหกําไรสุทธิ 1,400 บาทตอไร กลาว
โดยสรุป แนวทางในการปรับเปลี่ยนพืชทดแทนขาวนาปรัง สามารถแนะนําพืชทดแทนขาวนาปรัง
จํานวน 6 ชนิด โดยแบงเปZน 2 กลุมพืช คือ กลุมพืชผัก ไดแก พริก และขาวโพด และกลุมพืชไร
ไดแก ถั่วลิสง ถั่วเขียว ขาวโพดเลี้ยงสัตว. และถั่วเหลือง เนื่องจากเปZนพืชใชน้ํานอย เกษตรกรใหการ
ยอมรับและใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงกวาขาวนาปรัง
ทั้งนี้ หนวยงานภาครัฐควรสรางแรงจูงใจในการปลูกพืชทดแทนการปลูกขาวนาปรัง
มีนโยบายและแผนยุทธศาสตร.รองรับในระยะยาวใหแกเกษตรกร เชน การสรางแหลงน้ําตนทุนและ
แหลงสํารองน้ําในไรนา การสรางระบบเตือนภัยการเกษตร การพัฒนาระบบฐานขอมูลการบริหาร
จัดการเชิงพื้นที่โดยใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย การจัดหาตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตร
และสนับสนุน ใหเกษตรกรเนนการแปรรูปผลผลิตที่ไดมาตรฐานตามความตองการของตลาดผูบริโภค
abstract:
ABSTRACT ABSTRACT
Title: Guideline Guideline Guidelineforalternation alternation alternationcropscultivationinsubstitution substitution substitutionforoff-seasonrice
forsustainable sustainable sustainablesolutions solutions solutionstodrought drought droughtinChao Phraya watershed Phraya watershed Phraya watershed
Field: Economics Economics Economics
Name: Mr.Pramote Pramote Pramote Yajai Course : Course : Course : NDC NDC NDC Class : Class : Class :59
This study aims to introduce alternative crops that use less water or tolerate to
drought in substitution of the off-seasoned rice production in the Chao Phraya watershed area.
Geographic Information System (GIS) and crop modeling were used to define suitable areas and
potential crops that use less water or tolerate to drought. Then, SWOT analysis was applied to
assess the socio-economic opportunities of alternative crop production together with an
interview. Total 360 farmers, 60 persons from each of 6 provinces in Chao Phraya watershed,
namely Chainat, Ayutthaya, Lopburi, Saraburi, Angthong, and Singburi, were randomly selected
and interviewed.
The result identified 39 potential alternative crops suitable to be grown in the
Chao Phraya watershed areas, but only 8 of those were accepted by the farmers.
The suggested crops were chili, sweet corn, peanut, mung bean, maize, soybean, sunn hemp
and sesame. Among those crops, the net profit were about 14,100, 5,200, 3,930, 2,940,
2,052, 1,705, 1,180 and 287 baht per rai, respectively, comparing to the off-season rice of
about 1,400 baht per rai.
The study also pinpointed that the shifting of alternative crops in substitution of
off-seasoned rice could not be achieved without the engagement of the government sector.
The development of a short and long-term incentive strategy and a marketing plan from the
government that motivate and promote the shifting of off-season rice to alternate crops are of
vital, for example, building of water reservoir in the field, developing agricultural warning
system, applying spatial database management using technology and innovative, providing
marketing information and logistic, and promoting of crop processing that meet the standard
and consumer preferences.
In conclusion, it was found that there were 6 crops that were suitable for
substitution for off-seasoned rice production in the area. Those crops could be divided into
2 groups as 1) Vegetable: chili and sweet corn 2) Upland crop: Peanut, Mung bean, sunn hemp
and soybean because they were crops that require less water, easily accepted by farmers and
provided high profit.