เรื่อง: แนวทางการดำเนินคดีค้ามนุษย์ของพนักงานอัยการที่มีประสิทธิภาพ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประยุทธ เพชรคุณ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการดําเนินคดีคามนุษยของพนักงานอัยการที่มีประสิทธิภาพ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายประยุทธ เพชรคุณ หลักสูตร วปอ. รุนที่59
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงแนวทาง สภาพปญหาและอุปสรรคในการ
ดําเนินคดีคามนุษยของพนักงานอัยการตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย
พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีคามนุษย พ.ศ. 2559 เพื่อนําไปสูการกําหนดและ
เสนอแนะแนวทางการดําเนินคดีคามนุษยของพนักงานอัยการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
โดยศึกษาบทบาทของพนักงานอัยการในชั้นสอบสวนคดี ชั้นพิจารณาสั่งสํานวน การเรียกคาสินไหม
ทดแทนใหกับผูเสียหาย และการดําเนินคดีคามนุษยในชั้นศาลของพนักงานอัยการ ซึ่งเปนการวิจัยใน
เชิงคุณภาพ โดยการรวบรวมขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของกับการดําเนินคดีคามนุษยของพนักงานอัยการ
ตามกฎหมาย เปรียบเทียบกับการดําเนินคดีคามนุษยของประเทศฟลิปปนสตามที่ระบุอยูในรายงาน
สถานการณการคามนุษยประจําป พ.ศ. 2559 ของสหรัฐอเมริกา และการสัมภาษณพนักงานอัยการ
ที่มีอํานาจหนาที่ดําเนินคดีคามนุษยที่ปฏิบัติงานอยูในกรุงเทพมหานคร จากผลการวิจัยพบวา
พนักงานอัยการไมมีอํานาจเขารวมทําการสอบสวนคดีคามนุษยที่เกิดขึ้นในราชอาณาจักรไทย พนักงาน
สอบสวนและพนักงานอัยการยังขาดองคความรูและความเขาใจในการดําเนินคดีคามนุษยปญหาการ
ที่พนักงานสอบสวนสงสํานวนการสอบสวนลาชาหรือกระชั้นชิดกับระยะเวลาที่ควบคุมตัวหรือฝากขัง
ผูตองหาตามกฎหมาย พนักงานอัยการจะไมสามารถแกไขเพิ่มเติมสํานวนการสอบสวนหากพบ
ขอบกพรองไดทัน อาจทําใหสํานวนการสอบสวนไมสมบูรณ นอกจากนี้ ยังพบวาหนวยงานที่เกี่ยวของ
ยังขาดองคความรูในการคัดแยกผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐานคามนุษย และการกําหนด
คาสินไหมทดแทนใหกับผูเสียหายในคดีคามนุษยการดําเนินการยังไมมีหลักเกณฑหรือแนวทางที่เปน
มาตรฐานในการดําเนินการ และยังพบปญหาการนําระบบไตสวนมาใชในการดําเนินคดีคามนุษยซึ่ง
เปนเรื่องใหม พนักงานอัยการยังเคยชินกับระบบการพิจารณาคดีแบบเดิมๆ องคคณะของผูพิพากษา
ดําเนินกระบวนพิจารณาที่แตกตางกันไป ยังไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงมีขอเสนอแนะวา
ควรเพิ่มศักยภาพของพนักงานอัยการในชั้นสอบสวนและการดําเนินคดีการคามนุษยใหมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น โดยการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายใหพนักงานอัยการเขารวมสอบสวนในคดีความผิดฐานคามนุษย
ที่ไดกระทําลงในราชอาณาจักร แกไขเพิ่มเติม กฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง หรือทําบันทึกขอตกลง (MOU)
กับหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการประสานงานคดีคามนุษย
กําหนดใหพนักงานอัยการรวมทําหนาที่คัดแยกผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยรวมทั้ง
วางหลักเกณฑการคัดแยกผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยใหชัดเจน และจัดทําคูมือเพื่อ
ใชเปนแนวทางในการดําเนินการคัดแยกผูเสียหายจากการกระทําความผิดฐานคามนุษยแลวถายทอด
ความรูไปยังผูปฏิบัติในทุกหนวยงาน พัฒนาและปรับปรุงคูมือการดําเนินคดีคามนุษย และคูมือการสอบสวนคดีความผิดนอกราชอาณาจักร ซึ่งการดําเนินคดีคามนุษยของพนักงานอัยการควรที่
จะตองไดรับการพัฒนาใหสอดคลองและควบคูไปกับนโยบาย ยุทธศาสตร และมาตรการในการ
ปองกันและปราบปรามการคามนุษยดานการดําเนินคดีเปนสําคัญ
abstract:
ABSTRACT
Title Effective Guideline of Public Prosecutor in Human Trafficking
Case
Field Social - Psychology
Name Mr.Prayut Bejraguna Course NDC Class 59
The purpose of this research is to study statement of significance,
problems and obstacles in human trafficking prosecution of public prosecutors
according to the Anti-Trafficking Persons Act B.E 2551 (2008) and the Human
Trafficking Criminal Procedure Act B.E. 2559 (2016) in order to regulate and
recommend the effective guideline of public prosecutor in human trafficking case by
examining the role of public prosecutor in the investigation process, making
prosecution decisions, victims’ compensation and the court trial. The approach of
this research which is the qualitative research is to collect data from papers involving
human trafficking prosecutions of public prosecutors in Thai laws comparing with
human trafficking prosecutions of public prosecutors in the Philippines regarding the
2016 Trafficking in Persons report of the United States of America and to interview
public prosecutors who have the authority to prosecute human trafficking cases in
Bangkok. This research demonstrates that public prosecutors in Thailand have no
investigation power on human trafficking cases. Both police and public prosecutors
lack of knowledge and understanding on human trafficking prosecution. The police
send the investigation file to public prosecutor late or closing in a period of time
indicated by laws to hold an alleged offender in custody. Concerning to that
problem, public prosecutors have no time to send request to the police for further
investigation if there are mistakes in the investigation file which makes the
investigation file incomplete. Moreover, this research find out that involving state
agencies are lack of knowledge to detect victims from human trafficking offender.
There is no standard regulation or guideline to determine victims’ compensation in
human trafficking case. Another problem is using the court inquiry system in human
trafficking case as it is new to public prosecutors who are accustomed to the
adversarial and accusatorial system. The trials are conducted in different way and
not quite in the same direction. Thus, there isarecommendation that the ability of public
prosecutors should be improved effectively concerning the human trafficking investigation2
process and prosecution by amending laws to let public prosecutors join investigation in
human trafficking cases occurred in the country. Another suggestion is to amend laws,
regulations, order or memorandum of understanding (MOU) or to issue regulations of
the Prime Minister’s office regarding human trafficking liaison to assign public
prosecutors joining in the detection of victims from human trafficking offender
process and to have a clear regulation of that process. There should be a handbook
on detecting victims in human trafficking cases and distributes that knowledge to
involving state agencies. To improve and update a handbook on human trafficking
prosecution and a handbook on the investigation of an offence occurred outside the
country is also recommended. Finally, the prosecution in human trafficking cases of
public prosecutor should be improved in accordance with policy, strategy and
measure on prevention and suppression of the prosecutions on human trafficking
cases.