Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: พฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียของสังคมไทยที่มีผลต่อภัยความมั่นคงของชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประภาส ทองสุข
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง พฤติกรรมการใชโซเชียลมีเดียของสังคมไทยที่มีผลตอภัยความมั่นคงของชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายประภาส ทองสุข หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ การศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการใชโซเชียลมีเดียของสังคมไทยที่มีผลตอภัยความมั่นคงของ ชาติ” มีวัตถุประสงคในการศึกษา เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของประชากรตอการใชโซเชียลมีเดีย เพื่อ ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ไดจากการใชโซเชียลมีเดีย และเพื่อศึกษาถึงความคิดเห็นพฤติกรรม การเกิดปจจัยเสี่ยงในการใชโซเชียลมีเดียที่มีผลตอภัยความมั่นคงของชาติเปนการศึกษาเชิงสํารวจ ใช วิธีการศึกษาจากเอกสาร และเปนการวิจัยภาคสนาม กลุมตัวอยางประชากรในประเทศที่มีอายุ ระหวาง ๑๘ – ๖๐ ป ที่มีบัญชีผูใชโซเชียลมีเดียและใชเปนประจําอยางนอยสัปดาหละ ๔ วัน โดยใช แบบสอบถามเปนเครื่องมือในการศึกษา ขอมูลพฤติกรรมการใชโซเชียลมีเดีย ความคิดเห็นเกี่ยวกับผล ที่ไดจากการใชโซเชียลมีเดีย ความคิดเห็นพฤติกรรมการเกิดปจจัยเสี่ยงในการใชโซเชียลมีเดียที่มีผล ตอภัยความมั่นคงของชาติใชคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา ประชากรมีประสบการณในการใชโซเชียลมีเดีย ๔ ปขึ้นไป ใช บริการบัญชีผูใชโซเชียลมีเดียผาน Line โดยใชSmartphone เปนชองทางในการเขาถึงโซเชียลมีเดีย และเปดตลอดทั้งวัน มีวัตถุประสงคในการใชโซเชียลมีเดียเพื่อติดตามขาวสารหรืองาน ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ไดจากการใชโซเชียลมีเดีย ดังนี้ ดานการสื่อสาร ความคิดเห็น อยูในระดับเห็นดวยที่สุด ชวยใหติดตอสื่อสารไดสะดวกรวดเร็วขึ้น และชวยใหทราบขอมูลขาวสารได รวดเร็ว ดานการแสดงออกถึงตัวตน ความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวย เปนสื่อในการนําเสนอผลงาน แสดง ความคิดเห็น ดานเวลา ความคิดเห็นอยูในระดับเฉยๆ เวลาไมมีผลทําใหเวลาสวนตัวพูดคุยกับคนอื่น นอยลง ดานผลกระทบตอสังคม ความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวย ขอมูลขาวสารที่เผยแพรผานโซเชียล มีเดียมีผลกระทบตอความมั่นคงของชาติ เปนแหลงเผยแพรสื่อที่ไมเหมาะสม ดานบันเทิงอยูในระดับเห็น ดวยที่สุด เปนแหลงพูดคุยกับกลุมเพื่อน เพิ่มพูนความรูขาวสาร ชวยใหผอนคลายจากความเครียด ดานธุรกิจ อยูในระดับเห็นดวย ชวยในการคนหาสินคาหรือบริการที่ตองการ ความคิดเห็นพฤติกรรมการเกิดปจจัยเสี่ยงในการใชโซเชียลมีเดียที่มีผลตอภัยความ มั่นคงของชาติ อยูในระดับเห็นดวย ความรูเทาไมถึงการณในการใหขอมูลสวนตัวโดยไมตรวจสอบ ความนาเชื่อถือของโซเชียลมีเดีย ความไมทันเกี่ยวกับเทคโนโลยี และขอมูลขาวสารที่เผยแพรโดยกลุม คนที่มีความปรารถนาดี กลุมคนที่มีอารมณรวมในเหตุการณหรือสถานการณ และกลุมคนวงในองคกร หรือคนที่คิดวาเปนบุคคลที่ทราบคนแรก มีผลตอภัยความมั่นคงของชาติ

abstract:

Abstract iTtle Behavior in Using Social Media of Thai Society which Effects the National Security Field of Subject Social Psychology Researcher Mr. Prapas Thongsuk Course NDC Class 59 The study of Behavior in Using Social Media of “Thai Society which Effects the National Security” is aimed to study the behavior of the citizens in using social media to study the opinions about the results from using social media and to gain the views about behavior which causes risk factors for using social media effecting the national security. This study is a survey research and field study which gained data from documents. The representative samples were 18-60 year-old citizens which had social media and used it at least four days a week. The study used questionnaires as equipment to study the behavior. Frequency, percentage mean and standard deviation were used to study the opinion of the behavior causing risk effect in using social media which affected the national security. The results from the study revealed that the citizens had used the social media four years or more using the services through Line with smartphones and turned the phones on all day in order to gain news and keep up with works. The opinion as the communication aspect was ‘strongly agree’. As the aspect of expressing individual, the opinion was ‘agree’ as social media was the media to present works and views. As the aspect of time, the opinion was ‘neutral’. Time did not decrease personal time for talking with other people. As the aspect of the effect of society, the opinion was ‘agree’ The citizens thought the information released in social media effected the national security. As the aspect of entertainment, the answer was ‘strongly agree’. The media was the center for talking with friends and made users relaxed. And as the aspect of business, the answer was ‘agree’. The media helped finding needed products and services. As the aspect of the behavior causing risk factors for the national security, the opinion was ‘agree’. The reasons consist of unwitting offering private information without checking the media’s reliance, not keeping up with the technology, being tempered with a situation and the insiders of organizations or the first people who know the data. These could cause the risk factors for the national security.