เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการประเมินผลการตรวจราชการกองทัพบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก ประธาน นิลพัฒน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาการประเมินผลการตรวจราชการกองทัพบก
ศึกษากรณีกรมจเรทหารบก
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พ.อ.ประธาน นิลพัฒน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
การบริหารราชการในปัจจุบนั มุ่งเน้นผลลพัธ์ที่เป็นไปตามวตัถุประสงค์หรือผลสัมฤทธ์ิ
เป็นหลัก รวมท้งัได้น าการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
ระบบราชการ จึงควรมีการพัฒนา ปรับปรุงการประเมินผลการตรวจราชการของกองทัพบกให้มี
ความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ในการวิจัย ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลจากเอกสารเกี่ยวกับยุทธศาสตร์
คา สั่งกองทพั บกเรื่องการตรวจในหนา้ที่นายทหารจเร ต้งัแต่ปี๕๗ – ๖๐ และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
น าข้อมูลมาจัดระเบียบ เพื่อประเมินสถานภาพการประเมินผลการตรวจราชการกองทัพบกในปัจจุบัน
วิเคราะห์ปัจจัย ปัญหา ข้อจ ากัด และเสนอแนวทางการพัฒนาการประเมินผลการตรวจราชการกองทัพบก
ผลการศึกษาพบว่า การตรวจราชการของกองทัพบก จะท าการตรวจกระบวนการ (Process)
ซึ่งผลของการตรวจท าให้ทราบเพียงหน่วยรับตรวจได้ปฏิบัติตามระเบียบหรือไม่ อย่างไร จึงไม่สามารถ
น าผลการตรวจมาประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลหน่วยรับตรวจได้ อีกท้งัยงัไม่ไดม้ ุ่งเนน้ถึง
ผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบตัิงานและไม่มีความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนากองทัพบกและยุทธศาสตร์กองทัพบก
นอกจากน้นัจากการวเิคราะห์สภาพแวดลอ้มภายในของระบบการตรวจราชการกองทัพบก ท าให้ทราบ
ปัญหา ข้อจ ากัดด้านระยะเวลาในการตรวจที่ไม่เพียงพอ เนื่องจากมีการตรวจหลายเรื่อง และหน่วย
รับตรวจมีจ านวนมาก บางชุดตรวจไม่สามารถตรวจหน่วยได้ครบภายใน ๑ ปี
การแก้ปัญหาควรน าการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาใช้เป็ นเครื่องมือ
ในการพัฒนาการประเมินผลการตรวจราชการกองทัพบก โดยมีการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การจัดท า
ฐานข้อมูลการตรวจ และพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อก าหนดหน่วยรับตรวจ ก าหนดระยะเวลา
ในการตรวจให้เพียงพอที่จะสามารถท าการประเมินผลการตรวจท้งัในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ในการปฏิบัติงาน การให้ความส าคญักบัหน่วยรับตรวจเพิ่มช่องทางในการให้ข้อมูลเกี่ยวกบัการตรวจ
ต่อหน่วยรับตรวจ รับฟังความคิดเห็นของหน่วยรับตรวจ รวมท้งั การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โดยฝึ กอบรมให้ผู้ตรวจราชการสามารถท าการตรวจได้หลายเรื่องและทดแทนกันได้ ส่งเสริมระบบ
การเรียนรู้และสร้างแรงจูงใจให้กับผู้ตรวจราชการ ในส่วนที่เป็นภารกิจหน้าที่ของกรมจเรทหารบก ต้งัแต่ปี๕๗ – ๖๐ ท าการตรวจในเรื่องเดียวกัน มี
การจดัชุดตรวจและหน่วยรับตรวจ รวมท้งังบประมาณที่ได้รับในการตรวจมีจา นวนใกล้เคียงกนั
การประเมินผลการตรวจราชการของกรมจเรทหารบก ส่วนใหญ่เป็ นการประเมินผลเฉพาะด้าน
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่ได้มุ่งเน้นถึงผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบตัิงาน และยงัไม่มีความ
เชื่อมโยงถึงข้อมูลด้านยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง ท้งัน้ีเนื่องจากมีข้อจา กดัในเรื่องระยะเวลาในการ
ตรวจ หน่วยรับตรวจมีจา นวนมาก จา นวนชุดตรวจไม่เพียงพอ อีกท้งัผู้ตรวจราชการแต่ละคนมี
ความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ท าให้บางชุดตรวจ ไม่สามารถตรวจหน่วยได้ครบภายใน ๑ ปี
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines to Improve the Evaluation of the Army Inspection
(In Case Study of the Army Inspector General Department)
Field Military
Name COL Prathan Ninlapath Course NDC Class 59
Current administration focus on outcomes to achieve purpose or focus on achievement.
Also, the development of quality of government administration has been used as an instrument for
the development of the bureaucracy. Therefore, it would be useful to improve the Army's inspection
system so that will be consistent with current situation.
In research, this qualitative research by studying information from strategic documents,
Army Command of the Inspector General in Chief Inspectorate since 2014 – 2017. The other related
documents to monitoring, evaluation, assess the data of the status of the Army's current inspection
system and to organize the information. Presently analyzing the factors, problems, constraints, and
proposing guidelines for the development of the evaluation of the army inspection.
Research findings were as follows: the Army inspection system will be a process of
inspection. The result of the inspection will only know how well the unit is operating properly or not.
However, the results cannot be used to assess in the efficiency and effectiveness of the unit. Moreover,
the past inspection did not focus on the achievement of performance and it was not linked to the Army
Development Plan and Army Strategy. In addition, the analysis of the internal environment of the Army
inspection system. It became apparently that the problem of time constraints were insufficient
because there were many subjects matter inspection and there are many units. Some units cannot
be able to perform all official inspections within a year.
To solve the problem, the government administration should be able to use some
instruments to developand evaluate the Army Inspection by strategicplanning, database preparation,
determine the unit of inspected and setting sufficient time to evaluate the inspection both in terms
of efficiency and effectiveness in the operation. These will include listening to the opinions of on unit
of inspected, focus on human resource by organizing seminar for inspectors, as well as to development
of the inspector to have the ability to perform substitute. Also promoting the learning system and
motivating them to the inspectors.