Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความเป็นอิสระของศาลทหาร

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ประชาพัฒน์ วัจนะรัตน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ความเปนอิสระของศาลทหาร ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลตรี ประชาพัฒนวัจนะรัตน หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ ศาลทหารในฐานะที่เปนองคกรที่ใชอํานาจอธิปไตยทางตุลาการ เพื่อรักษาระเบียบวินัย ทหารสนับสนุนการปกครองบังคับบัญชาทหาร และทําหนาที่ในการรักษาความมั่นคงของประเทศซึ่ง จําเปนที่จะตองมีความเปนอิสระไมตกอยูภายใตอํานาจอื่นใด แตจากการศึกษาพบวา มีบทบัญญัติแหง กฎหมายหรือการปฏิบัติบางประการอาจสงผลใหความเปนอิสระของศาลทหารยังคงมีความ ไมสมบูรณ ไดแก ปญหาการใหศาลทหารสังกัดอยูในกระทรวงกลาโหม โดยมีโครงสรางของสวนราชการในแงของ ธุรการเปนหนวยขึ้นตรงกับกรมพระธรรมนูญ และกรมพระธรรมนูญก็เปนหนวยขึ้นตรงกับสํานักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม และสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมเปนหนวยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม ตามลําดับ มีผลใหศาลทหารขาดความเปนอิสระในการพิจารณาคดีและ ปญหาผูมีอํานาจแตงตั้งและ ถอดถอนตุลาการศาลทหาร กลาวคือ การใหผูมีอํานาจบังคับบัญชามณฑลทหารเปนผูมีอํานาจแตงตั้ง และถอดถอนตุลาการศาลมณฑลทหาร ซึ่งอาจทําใหตุลาการศาลทหารไมวาจะเปนตุลาการ พระธรรมนูญ หรือตุลาการศาลทหารที่ไมใชตุลาการพระธรรมนูญ ซึ่งรับราชการในมณฑลทหารบกนั้น มีความเกรงใจ หรืออาจถูกบังคับ สั่งการ หรือกระทําการอื่นใดที่เปนการแทรกแซงอํานาจการพิจารณา พิพากษาของตุลาการศาลทหาร ตลอดจน ยังมีปญหาการคัดเลือกตุลาการศาลทหาร ยังขาดการ ประเมินความรูความสามารถของผูที่สมัครเขาเปนตุลาการพระธรรมนูญ และตุลาการศาลทหารที่ไมใช ตุลาการพระธรรมนูญ จึงเห็นควรใหมีการดําเนินการใหสํานักตุลาการทหาร เปนสวนราชการที่มีความ เปนอิสระในการบริหารจัดการงบประมาณไดดวยตนเอง โดยอยูภายใตการกํากับดูแลของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม และจัดใหมีสํานักตุลาการที่ตั้งตามฆณฑลทหารตาง ๆ เปนสวน ราชการที่รับผิดชอบดานธุรการของศาลทหาร และเปนสวนราชการที่ขึ้นตรงตอสํานักตุลาการทหาร และใหหัวหนาสํานักตุลาการทหาร ซึ่งเปนตุลาการพระธรรมนูญดวย ตกอยูภายใตการกํากับดูแลของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม โดยอํานาจการแตงตั้ง ถอดถอน ตุลาการพระธรรมนูญ เปนอํานาจ ของคณะกรรมการตุลาการทหาร รวมทั้ง ใหผูมีอํานาจบังคับบัญชามณฑลทหารมีอํานาจเสนอรายชื่อผู ที่จะเปนตุลาการศาลมณฑลนั้นตอคณะกรรมการตุลาการทหาร ประกอบกับ ใหคณะกรรมการ ตุลาการทหารเปนผูมีอํานาจพิจารณาวาจะใหบุคคลใดเปนตุลาการศาลทหาร โดยมีการปรับเปลี่ยน องคประกอบของคณะกรรมการตุลาการทหารใหเหมาะสม ตลอดจน ใหมีการกําหนดหลักเกณฑการ คัดเลือกหรือกําหนดคุณสมบัติของบุคคลเขาเปนตุลาการพระธรรมนูญและ ตุลาการศาลทหาร

abstract:

ABSTRACT Title The independent of martial court Field Politics Name Major General Prachaphat Vatchanaratna Course NDC Class 59 The court martial, it is an organization that uses judicial of sovereignty. It uses to maintain military discipline, support military commanders, and serves to keep the security of the country. It need to have independence and not under any other power tointervening. This study found that there are provisions of law or some practices that may not result of the independence. For example, the issue of court martial is under the The Judge Advocate General's Department and The Judge Advocate General's Department is under The Office of the Permanent Secretary for Defence. The Office of the Permanent Secretary for Defence in terms of administrative unit, it up to the ministry of defence. It has resulted to martial court lack of judicial independence and the issue of the authority to appoint and remove the military court judges. For distance, Commanding General of Military can withdraw or appoint the General Court-Martial. They can select a judge therefore they are not came from judge advocate and no process to assess a knowledgement of a judge. In this study, we should proceed to the Military Judicial Office to have freedom to manage budgets by themselves. Military Judicial Office should be under the supervision of the Minister of Defense. We should set up General Court-Martial Office to respond for administrative affairs, also Court-Martial Office should under Military Judicial Office. The Chief of Military Judicial Office Which should come from Judge Advocate and under the supervision of the Minister of Defense. It should include a power to appoint judges or remove Judge by the authority of the Military Judicial Commission. A Commanding General of Military shall have the power to propose a list of persons to be a judge to Military Judicial Commission. Military Judicial Commission considers who should be a jugde.The Minister of Defense is the President of Military Judicial Commission. Military Judicial Commission have to be adjusted a suitable person. They also write criteria for the selection or qualification of persons to be Judge Advocate or military courts.