Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม (Bio-Industry) เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio-Economy)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ปฏิภาณ สุคนธมาน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปและปัญหาของอุตสาหกรรมเคมีเพื่อ สิ่งแวดล้อม และเพื่อน าเสนอแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยอย่าง ยั่งยืน ด าเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิจากแหล่งต่างๆ และสัมภาษณ์ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ผลการวิจัยแสดงให้เห็น ว่า อุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมมีบทบาทที่ส าคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนด้วย การสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตผลทางการเกษตรด้วยกระบวนการทางชีวภาพให้เป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทั้งเชื้อเพลิงชีวภาพ (Bio-Fuels) เคมีชีวภาพ (Bio-Chemicals) และพลาสติก ชีวภาพ (Bio-Plastics) ลักษณะส าคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศ ต่างๆ คือ การมีท าเลที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมอยู่ในบริเวณเดียวกันและอยู่ ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบชีวภาพ วางแผนและใช้ประโยชน์วัตถุดิบชีวภาพให้ได้ประโยชน์สูงสุด การพัฒนา อุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยกรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์แสดงให้เห็นว่า อุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมเป็นกลไกส าคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio-Economy) ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่ส าคัญของประเทศไทยให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม เป็น การใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่มจากอ้อยที่เป็นพืชเศรษฐกิจตามแนวนโยบาย รวมถึงการรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมจากการผลิตและใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ ส่งเสริมให้มีการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชีวภาพในประเทศอย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลเชิงบวกต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ระดับชุมชนถึงระดับประเทศได้อย่างยั่งยืน และเป็นกรณีตัวอย่าง (Showcase) กระตุ้นให้เกิด การลงทุนอุตสาหกรรมชีวภาพในลักษณะใกล้เคียงกันในอนาคต งานวิจัยนี้ได้จัดท าข้อเสนอแนะเชิง นโยบายที่ส าคัญและจ าเป็นต่อการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม ทั้งมาตรการส่งเสริม การลงทุนและมาตรการสร้างอุปสงค์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อให้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio-Economy) เกิดขึ้นในประเทศไทยอย่างยั่งยืน ค าส าคัญ: อุตสาหกรรมเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม, เศรษฐกิจชีวภาพ, อ้อย, ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

abstract:

Abstract Title: Development of Bio-Industry to drive the Bio-Economy Policy Field: Strategy Name: Mr.Patiparn Sukorndhamarn Course: NDC Class: 59 The objectives of this research were to study state and problems of bio￾industry, and to propose a sustainable development of bio-industry in Thailand. This research employed qualitative approach by analyzing primary and secondary information, and interviewing stakeholders that involved in developing bio-industry in Thailand. The results show that bio-industry has an important role for sustainable development, by adding values to agriculural products with bio-processes, to achieve environmental-friendly bio-products, including bio-fuels, bio-chemicals, and bio￾plastics. Important characteristics for developing bio-industries are; close promixity of bio-industrial plants within the same area that close to biomass source, integrative planning and operating to maximize biomass utilization. Bio-complex development in Thailand is in Nakhonsawan Province shows that bio-complex is an important mechanism to drive the Government’s bio-economy policy into success, by utilizing sugarcane as key feedstock, sustaining environment by using bio-products, continuously encouraging research and development bio-products. All of which contributes to sustainable economic, social, and environmental development. Bio￾Complex will also be a showcase to encourage and attract further investment in bio￾industry. This research also proposes policy recommendations that important and critical to drive the development of bio-industry, both investment incentives and demand-creating incentives, in order that the bio-economy can be sustained in Thailand. Keywords: bio-industry, bio-economy, sugarcane, bio-products