Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ศึกษาสภาวะและความสัมพันธ์ของภาวะน้ำหนักเกิน และโรคอ้วนกับโรคเบาหวาน โรคความด้นโรหิตสูง และไขมันในเลือดสูง ในกำลังพลกองทัพบก จังหวัดพลบุรี

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี นิมิตร์ สะโมทาน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง สถานการณ์และความสัมพันธ์ของภาวะนําหนักเกินและโรคอ้วน กับโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง ในกําลังพลกองทัพบก จังหวัดลพบุรี ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พล.ต.นิมิตร์ สะโมทาน หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๙ การศึกษาภาคตัดขวางเพือศึกษาสถานการณ์และความสัมพันธ์ของภาวะ นําหนักเกินและโรคอ้วน กับโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง ในกําลังพล กองทัพบก จังหวัดลพบุรีดําเนินการระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๙ กําลังพลจํานวน ๖,๔๗๑ นาย อายุ๓๖-๖๐ ปี ได้รับการซักประวัติสุขภาพทัวไป ประวัติการสูบบุหรี การดืมสุรา และ พฤติกรรมการออกกําลังกาย ตรวจวัดความดันโลหิต ชังนําหนักวัดส่วนสูง วัดรอบเอว เจาะเลือด ตรวจระดับนําตาลในเลือด ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ และระดับไขมันคลอเลสเตอรอล ผล การศึกษาพบว่ากําลังพลในกองทัพบกมีความชุกของภาวะนําหนักเกินร้อยละ ๒๕.๘๔ และโรค อ้วนร้อยละ ๔๖.๑๔ กําลังพลทีมีภาวะนําหนักเกินหรือโรคอ้วนมีค่าเฉลียของอายุ นําหนักค่าดัชนี มวลกาย ความยาวรอบเอว ความดันโลหิต ระดับนําตาลในเลือด ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ และ ระดับไขมันคลอเลสเตอรอล สูงกว่ากลุ่ม ทีมีค่าดัชนีมวลกายน้อยกว่า ๒๓ กิโลกรัม/เมตร๒ อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ การวิเคราะห์แบบถดถอยพบว่าโอกาส ทีจะเกิดภาวะนําหนักเกินมีความสัมพันธ์ กับอายุ เพศชายความดันโลหิต ระดับนําตาลในเลือดสูง ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง และระดับ ไขมันคลอเลสเตอรอลสูงการสูบบุหรีทําให้โอกาสเกิดภาวะ นําหนักเกินและโรคอ้วนลดลง การ ออกกําลังกาย> 3ครัง/สัปดาห์ ทําให้โอกาสเกิดโรคอ้วนลดลงการวิจัยนีทําให้ทราบข้อมูลพืนฐาน และความชุกของภาวะนําหนักเกินและโรคอ้วนในกําลังพลกองทัพบก พบว่าแนวโน้มของโรคอ้วน ของกําลังพลเพิมสูงขึนจากการศึกษาในอดีต ซึงข้อมูลดังกล่าวจะเป็ นข้อมูลสําคัญ ทีสนับสนุนการ วางแผนส่งเสริมสุขภาพของกําลังพลตามนโยบายของกองทัพบก และของรัฐบาลในอนาคตต่อไป ได้เป็ นอย่างดี

abstract:

ABSTRACT Title Association of Overweight and Obesity with Diabetes, Hypertension and Dyslipidemia in Royal Thai Army Personnel Field Social – Psychology Name Major General Nimit Samothan Course NDC Class59 Objectives of Research: Determine the prevalence of overweight and obesity in the Royal Thai Army (RTA) personnel at Lopburi province. Scope of Research: A quantitative research was performed on RTA personnel aged 36-60 years at Lopburi province between January and December 2015. Methodology: A cross-sectional study was performed. They were interviewed for general health status, history of smoking, alcohol consumption, and physical activity. Blood pressure, weight, height, waist, and hip circumference were measured. Serum fasting blood sugar level, triglyceride level and total cholesterol level were investigated. Results: The prevalence of overweight and obesity with asian definition of WHO in a total of 6,471 RTA peronnel at Lopburi province were 25.84% and 46.14% respectively. The mean value of age, weight, body mass index, waist circumference, blood pressure, fasting blood sugar level, triglyceride level, and total cholesterol level in overweight, or obese personnel were significantly higher than those of non-overweight personnel. Logistic regression analysis showed that significant risks of being overweight were positively associated with age, male sex, blood pressure, fasting blood sugar level, triglyceride level, and total cholesterol level. Current smoking was inversely associated with overweight and obesity, whereas physical activity > 3 times/wk was inversely associated with obesity. Recommendations: These data are useful for future trends monitoring and suggested that the intensive prevent obesity in RTA personnel was required.