Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการระดมสรรพกำลังทางหทารเพื่อการป้องกันประเทศของกองทัพเรือ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี นิพร สุขเกษตร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการระดมสรรพก าลังทางทหารเพื่อการป้ องก ันประเทศของกองทัพเรือ ผู้วิจัย พล.ร.ต. นิพร สุขเกษตร ร.น. หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 59 ต ำแหน่ง หัวหน้านายทหารฝ่ ายเสนาธิการ ประจ ารองผู้บัญชาการทหารเรือ การศึกษาวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์ เพื่อศึกษาข้อจ ากัดของการระดมสรรพก าลัง ทางทหารจากภาคเอกชน เพื่อการป้ องกันประเทศของกองทัพเรือในอดีต และตามแผนผนึกก าลัง และทรัพยากรเพื่อการป้ องกันประเทศฉบับใหม่ (พ.ศ.2559) เพื่อศึกษาข้อมูล แผนการระดมสรรพก าลัง ทางทหารของกองทัพประเทศสหรัฐอเมริกา ( U.S.A. JOINT MOBILIZATION PLANNING) เพื่อศึกษา ข้อมูลการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการเกณฑ์ช่วยราชการทหาร พ.ศ.2530 เพื่อศึกษาแนวทาง การระดมสรรพก าลังทางทหารจากภาคเอกชน เพื่อการป้ องกันประเทศของกองทัพเรือ และ เพื่อ เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง/แก้ไข การระดมสรรพก าลังทางทหารจากภาคเอกชน เพื่อการป้ องกัน ประเทศของกองทัพเรือโดยจะศึกษาและวิเคราะห์ข้อจ ากัดในการระดมสรรพก าลังทางทหารจากภาคเอกชน เพื่อการป้ องกันประเทศของกองทัพเรือในอดีต โดยพิจารณารายละเอียดการด าเนินการตามแผนผนึกก าลัง และทรัพยากรเพื่อการป้ องกันประเทศฉบับใหม่ (พ.ศ.2559) และ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเกณฑ์ช่วย ราชการทหาร พ.ศ.2530 ควบคู่กันไปด้วย รวมท้งัศึกษาแนวทางการในการปรับปรุง/แก้ไข การระดมสรรพก าลัง ทางทหารจากภาคเอกชน เพื่อการป้ องกันประเทศของกองทัพเรือตามตามแผนผนึกก าลังและ ทรัพยากรเพื่อการป้ องกันประเทศฉบับใหม่ (พ.ศ.2559) และ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเกณฑ์ช่วยราชการ ทหาร พ.ศ.2530 โดยเปรียบเทียบกับกองทัพประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการศึกษาพบว่าท าให้ทราบถึงข้อจ ากัดต่าง ๆ ในการระดมสรรพก าลังจาก ภาคเอกชนของกองทัพเรือได้แก่ ไม่มีการบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรสนับสนุนหน่วยทหารใน พ้ืนที่ อย่างชัดเจน ข้อมูลความต้องการทรัพยากรหรือบัญชีระดมสรรพก าลังของหน่วยทหารต่าง ๆ ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่มีหนทางเลือกในการระดมสรรพกา ลังทั่วประเทศ (วนั ร.) ใน สถานการณ์ความรุนแรงระดับ 4 หน่วยประสานการเตรียมพร้อมด้านต่างๆทุกระดับตามแผนการระดม สรรพก าลังของกลาโหมและกองทัพเรือ ยังขาดความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติแผนการระดมสรรพ ก าลังของกลาโหมและของกองทัพเรือไม่ได้ก าหนดแนวทางการใช้อ านาจ ตามมาตรา 42 ของ พ.ร.บ. ว่าด้วยการเกณฑ์ช่วยราชการทหาร พ.ศ.2530และเจ้าหน้าที่ฝ่ ายทหาร ฝ่ ายปกครองและประชาชนขาด ความรู้ ความเขา้ใจในการปฏิบตัิตามข้นั ตอนของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเกณฑ์ช่วยราชการทหาร พ.ศ.2530 อย่างไรก็ตาม เพื่อให้แผนการระดมสรรพก าลังของกองทัพเรือ กรณีการระดมจาก ภาคเอกชน ให้มีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้จริง ผู้วิจัยจะได้เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title The Naval Rehabilitation Strategy for the Defense of the Navy Field Military Name Pol.Gen. Niporn Sukkaset Course NDC Class 59 This research study about the limitations of military mobilization from the private sector. For the defense of the Navy in the past. And a new national defense and resources plan (2016) to study the data. U.S.A. JOINT MOBILIZATION PLANNING plan to study compliance information. The Military Assistance Enforcement Act of 1987 to study military mobilization from the private sector. For the defense of the Navy and to suggest ways to improve / correct. Military mobilization from the private sector For the defense of the navy It will study and analyze the limitations of mobilizing military forces from the private sector. For the defense of the Navy in the past. Consider the details of the implementation of the new national defense and security planning (BE 2559) and the Military Assistance Act 1987 (BE 2530). Include guidelines for improvement / correction. Military mobilization from the private sector For the defense of the Navy in accordance with the new national defense and security planning (BE 2559) and the Military Assistance Act 1987, compared with the Army. United States The results show that the limitations of the Navy's private-sector mobilization include the lack of integrated military resource management. In the area clearly Resource requirements or mobilization accounts Of various military units are not complete. There are no options to mobilize all over the country (RAH) in the violence situation. Level 4, coordination units at all levels. According to the plan of mobilization of Defense and Navy. Lack of knowledge and understanding of practice. The Defense and Naval Rehabilitation Plans do not provide guidelines for the exercise of powers under Section 42 of the Military Assistance Act 1987 and Military Officers. Governments and people lack the knowledge to follow the procedure. Act on the provision of military service in 1987, however, to the fleet mobilization plan. Private mobilization case To be clear Can be real The researcher will provide advice on how to solve the problem for the concerned agencies to proceed.