Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาการบูรณาการงานด้านความมั่นคงและด้านการพัฒนาในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประพันธ์ มุสิกพันธ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง การศึกษาการบูรณาการงานดา ้ นความมนัÉ คงและดา ้ นการพฒั นา ในการแกไ้ ขปัญหาจงัหวดัชายแดนภาคใต ้ ลกัษณะวชิา ยทุ ธศาสตร ์ ผ ู้วจิัย นายประพนัธ ์ มุสิกพนัธ ์ หลกัสูตรการป้ องกนัราชอาณาจกัร รุ่นทีÉ๕๖ สถานการณ์ความรุนแรงทีÉเกิดขÊึนในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ตÊงัแต่ปี ๒๕๔๗ เป็นตน้ มาก่อให้เกิดความเสียหายทÊงัชีวิตและทรัพยส์ินของประชาชนและภาครัฐเป็นอย่างมาก โดยสาเหตุปัญหามีความละเอียดอ่อน ซบั ซ้อนและเชืÉอมโยงหลายมิติ ทัÊงเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วฒั นธรรม และความมนÉัคงดงันÊนั การแกไ้ขปัญหาจึงจะตอ้งดาํ เนินการควบคู่กนั ไปทÊงัด้านความ มัÉนคงทีÉเกÉียวขอ้งกบัการรักษาความปลอดภยัในชีวิตและทรัพยส์ิน และด้านการพัฒนา ทีÉเป็ นการ พฒั นาคุณภาพชีวติประชาชนเพÉอืสังคมสุขสงบอยา่ งยงยืน ัÉ การศึกษานีÊจึงมีวตัถุประสงคเพื ์ Éอวิเคราะห์ ปัญหา อุปสรรคในการแก้ไขปัญหาจงัหวดั ชายแดนภาคใตภายใต้นโยบายการบริหารและการ ้ พฒั นาจงัหวดั ชายแดนภาคใต้พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ และเพืÉอเสนอแนะแนวทางการบูรณาการ งานดา้นความมนÉัคงและงานดา้นการพฒั นาใหม้ีประสิทธิภาพมากขÊึน โดยใชว้ิธีการวิจยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเชิ งเนืÊอหา (Content Analysis) จากข้อมูล ทุติยภูมิ และข้อมูลปฐมภูมิ ทีÉรวบรวมจากเอกสารนโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการแก้ไขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ในช่วงเวลาดังกล่าว ผลการวิจัย พบว่า (๑) ขาดกลไกทีÉมีอํานาจหน้าทีÉบูรณาการยุทธศาสตร์และ แผนงาน/โครงการดา้นความมนÉัคงและดา้นการพฒั นา (๒) ยุทธศาสตร์ดา้นความมนคง Éั และดา้น การพฒั นา ไม่มีวิธีการแกไ้ขปัญหาทีÉสอดคลอ้งเชÉือมโยงกนั (๓) ขาดการใช้ขอ้ มูลร่วมกนั ในการ กาํหนดเป้าหมายงานดา้นความมนัÉ คงและงานดา้นการพฒั นา จึงมีขอ้ เสนอแนะคือ(๑)จดั ตÊงกลไก ั การบูรณาการงานด้านความมันคง É และงานด้านการพฒั นา ในการแก้ไขปัญหาจงัหวดั ชายแดน ภาคใต้ (๒)กาํ หนดกระบวนการและขÊนั ตอนการบูรณาการยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาจงัหวดั ชายแดนภาคใต้(๓)กาํหนดพÊนที ื ÉเพืÉอแบ่งภารกิจงานดา้นความมนÉัคงและงานดา้นการพฒั นา

abstract:

ABSTRACT Title The Study of Integration of Security and Development Mission for Problem Solving in the Southern Border Provinces Field Strategy Name Praphan Musikaphan Course NDC Class 56 Since 2004, the southern border provinces have experienced numerous acts of violence. Such incidents have caused substantial loss of lives and properties of people and of governmental sectors. The reasons behind these acts are complicated and concerned in multidimensions including economic, social, educational, cultural, and security aspects. So, dealing with related problems requires a coordinated effort to tackle both “ security aspects” , related to the security of lives and properties, and “development aspect”, related to the quality of people's lives for sustainable peace of society. The purposes of this research are 1) to analyze the problem and obstacles to problem solving in the southern border provinces under the Administration and Development of the Southern Border Provinces Policy during 2012-2014 and 2) to offer the guidance on integration of security and development mission to be more efficient using the qualitative analysis and the content analysis from the secondary data and the primary data gathered from the government policy documents , cabinet resolution, strategic policy, plans of operations ,and projects for coping with problems during that time. The results of research indicate 1) the lack of a mechanism for the integration of strategy, plans of operations, and projects in security and development aspects 2) the lack of coherence when strategy of “security aspects” and “development aspects” being applied and 3) the lack of information sharing for security and development targeting. For dealing with related problems, the results of this study are 1) establishing a mechanism for integrating security and development performance for coping with the problems, 2) Defining processes and procedures of the strategic integration for problem solving in the southern border provinces, and 3) Defining the areas to separate security and development missions.