Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการปฏิรูปประเทศตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช........

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง นงนุช ธนเศรษฐ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาองคกรเพื่อรองรับการปฏิรูปประเทศตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นางนงนุช ธนเศรษฐ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ การปฏิรูปประเทศเปนวาระเรงดวนของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ที่ไดแสดง เจตนารมณไวตั้งแตวันแรกที่เขารับตําแหนงใหวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ และที่สําคัญตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวดที่ ๑๖ มาตรา ๒๕๘ ไดกําหนดวา ใหมีการปฏิรูปประเทศอยางนอยในดานตางๆ ใหเกิดผลดี ดังตอไปนี้ คือ ดานการเมือง ดานการบริหาร ราชการแผนดิน ดานกฎหมาย ดานกระบวนการยุติธรรม ดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ และดานอื่นๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับการปฏิรูปประเทศภายใต รัฐธรรมนูญฉบับใหมในสวนที่เกี่ยวของและอยูในความรับผิดชอบของสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เพื่อเตรียมความพรอมในการสนับสนุนและแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งเพื่อเสนอแนะแนวทาง ในการพัฒนาและสรางระบบงานรูปแบบใหมๆ ของสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเพื่อใหการขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ผลของการวิจัยที่ไดรับจากการรวบรวมขอมูล เอกสาร และจากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ ทําใหไดรับทราบอุปสรรคปญหาที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการปฏิรูปประเทศที่ผานมาของรัฐบาล ประกอบดวย ปญหาหลักๆ คือ การขาดการเสริมสรางความเขาใจและการรับรูแกประชาชน ขาดการสรางการมีสวนรวมกับ ภาคประชาชน ประชาสังคมในทองถิ่น และขาดระบบการเชื่อมโยงขอมูลเพื่อติดตามงาน ผูวิจัยไดจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อแกไขปญหาและอุปสรรคขางตน โดยนําทฤษฎี การบริหารการเปลี่ยนแปลงของJohn Kotterมาเปนกรอบแนวทางในการทําขอเสนอตอรัฐบาล ประกอบดวย การสราง ความตระหนักถึงความจําเปนเรงดวนของการปฏิรูปประเทศการสรางทีมผูนําการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารวิสัยทัศน ของการเปลี่ยนแปลงโดยวิธีทันสมัย การสรางชัยชนะระยะสั้น และการเสริมสรางการมีสวนรวมของภาคประชาชน ที่สําคัญสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีในฐานะหนวยขับเคลื่อนตองเรงพลิกโฉมองคกรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ดังกลาวสูองคกรยุคดิจิทัล โดยนํานวัตกรรมมาใชสนับสนุนการทํางาน เลือกสรรคนรุนใหมที่มีทักษะดานดิจิทัล ปรับปรุงการบริการประชาชน โดยไมตองมีการรองขอเผยแพรขาวสารสูประชาชนอยางทั่วถึงในหลายชองทาง และปลูกฝงวัฒนธรรมในการทํางานใหมๆ ที่รวดเร็ว(New Speed) โดยผูบริหารตองเขาถึงไดงายเพื่อเสริมสราง Connectivity

abstract:

ABSTRACT Title The Organization Development Guidelines for Supporting National Reform Drive in accordance with the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 Field Politics Name Mrs. Nongnuch Thanasate Course. NDC Class. 59 The National Reform Drive is the governmenturgent agenda that the Prime Minister General Prayut Chan– O – Chahas expressed his intention sincethe first day of his inauguration in September 12, 2014. And most importantly, in accordance with the provisions of the Constitution of the Kingdom Of Thailand B.E. 2560 in chapter 16, section 258 prescribed that National Reform in various areas shall be carried out to at least achieve10reforms. The objective of this research were to study the provisions of the Constitution of the Kingdom ofThailand B.E. 2560 in relation to the responsibility of the Secretariat of the Prime Minister and also to propose the recommendations for supporting National Reform Agenda effectively. The scope of this research focused only on the National Reform associated with the Secretariat of the Prime Minister in the period of the beginning of thecabinet up to now. The research is a qualitative research. We complied secondary data from all concerns document and a primary data from interviewed with the specialists. The results of this research was we found that the main problem of driving reform were lacking of public awareness, lacking of building collaborative communities and alsohave to improve intregrated linksystem among network agencies. We choose JohnKotter’s theory as framework for policy proposal including to raise awareness for urgent need to reform, to build the guiding coalition, to communicate the change vision, to generateshort – term wins and to build public collaboration. Furthermore, to transform the Secretariat of the Prime Minister to digital Department, we need to select and recruit a young generation who could empower creative, thinking, digital skill and be a proactive leader. In addition, We need to cultivate new working culture by changing to new speed organizationand focused on publicsurvice without asking.