เรื่อง: แนวความคิดการบูรณาการหน่วยงานสกัดกั้นยาเสพติดในพื้นที่ชายแดนไทย-สปป.ลาว
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ธัญญา เกียรติสาร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวความคิดการบูรณาการหนวยงานสกัดกั้นยาเสพติดตามลําแมน้ําโขงชายแดน
ไทย - สปป.ลาว พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พลตรี ธัญญา เกียรติสาร หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
ยาเสพติดเปนปญหาใหญระดับประเทศและระหวางประเทศ ที่รัฐบาลใหความสําคัญ
โดยกําหนดเปนวาระแหงชาติซึ่งควรไดรับการแกไขอยางเรงดวน ในปจจุบันขบวนการคายาเสพติด
ตามแนวชายแดนมีพัฒนาการกระทําความผิดที่ซับซอนและเปนองคกรอาชญากรรมที่มีทุนทรัพย
มหาศาล ฉะนั้นการบูรณาการหนวยงานสกัดกั้นยาเสพติดจึงเปนมาตรการหนึ่งที่เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการปราบปรามขบวนการคายาเสพติดมากขึ้น
การวิจัยแนวความคิดการบูรณาการหนวยงานสกัดกั้นยาเสพติดตามลําแมน้ําโขง
ชายแดนไทย - สปป.ลาว พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น เปนการศึกษาสภาพแวดลอม
และแนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการสกัดกั้นยาเสพติดในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของ ศอ.ปส.ชอน. ตามกรอบยุทธศาสตรการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ป๒๕๕๘ – ๒๕๖๒
ของศูนยอํานวยการปองกันและปราบปรามยาเสพติดแหงชาติ
ผลจากการศึกษาวิจัย สรุปไดวา การแพรระบาดของยาเสพติด ยังคงมีอยูในพื้นที่
ชายแดน และมีแนวโนมทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีการพัฒนารูปแบบการขนยาย,
ลําเลียงจากแหลงผลิตไปสูลูกคารายยอย และผูเสพอยูตลอดเวลา ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
ของประชาชนที่เกิดจากคดียาเสพติดมีปริมาณลดลง แนวทางการขับเคลื่อนตามกรอบแนวคิด
ทางยุทธศาสตรทุกหนวยจะตองกําหนดเปนวาระเรงดวนของจังหวัด ในการแกไขปญหายาเสพติด
ดวยการกําหนดพื้นที่เปาหมายของหมูบาน/ชุมชน ในพื้นที่ชายแดน ยุทธศาสตรปองกันโดยการ
ใหความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับการปองกันและแกไขยาเสพติด สรางทัศนคติ รวมทั้งทักษะในการปองกันที่
มีประสิทธิภาพ โดยการสนธิกําลังจากหนวยกําลังในพื้นที่ พรอมทั้งประสานการปฏิบัติอยางใกลชิด
ตลอดจนการสรางความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน สําหรับยุทธศาสตรเสริมสรางโดยการบูรณาการ
หนวยกําลังในพื้นที่อําเภอชายแดนเพื่อสกัดกั้นยาเสพติดใหครอบคลุมพื้นที่หลัก (ดานพรมแดนถาวร
และจุดผอนปรนเพื่อการคา) พื้นที่รองชองธรรมชาติ รวมถึงพัฒนาเครื่องมือที่มีเทคโนโลยีทันสมัย
ขอเสนอแนะ แนวความคิดการบูรณาการหนวยงานสกัดกั้นยาเสพติดตามลําแมน้ําโขง
ชายแดนไทย - สปป.ลาว พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สามารถนําไปประยุกตใชเปนแนวทาง
การดําเนินงานไดในพื้นที่ชายแดนดานอื่นๆ ซึ่งยังคงมีปญหายาเสพติดเชนเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อเปน
การสนับสนุนการแกไขปญหาความมั่นคงของชาติ ตลอดจนการเขาสูประชาคมอาเซียน ใหเปนไปดวย
ความเรียบรอย ซึ่งสามารถสรางความรวมมือในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทยกับประเทศ
เพื่อนบาน ใหบังเกิด และสามารถนําไปสูการปรับปรุงแผนงานการดําเนินงาน ในปงบประมาณถัดไป
ใหมีประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้น
abstract:
Abstract
Title : Concept of Unit Integration of Drug-Prevention along Mekong River
Thailand-Laos border in the area of Southeast Thailand
Field : Social Psychology
Name : Maj.Gen. Thanya Kieatsarl Course NDC Class 59
Inside our country and overseas, drugs are an increasing epidemic. It is at
the top of the government's agenda to address the cause of this issue and fix the
problem as quickly as possible. The system of the drug market especially on the
border of Thailand is very complicated and is organized by people who have much
money.
Hence they use integration with many institutions within Thailand.
Research has revealed the border between Thailand and Laos is the hub of the
transfer of drugs and is still highly active and there is a well organized system of
shipment from the producer to the seller. This has created a hostile environment
and the safety of citizens has decreased. Therefore every province in Thailand must
focus on this issue immediately.
This could be achieved through education, teaching the public about the
dangers of drugs, and by communicating with neighboring countries about the drug
problem. This will not only benefit Thailand but will have a domino effect therefore
reducing the drug epidemic in the whole of South East Asia.
By joining hands with Asean, we will have the support to crush this
problem and improve the stability of our country. Hopefully by the next fiscal year
this problem will be greatly improved if not eradicated.