เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ในอนาคต
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท ธเนศ กาลพฤกษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลนในอนาคต
ลักษณะวิชา ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผู'วิจัย ผู'วิจัย พลโท ธเนศ กาลพฤกษ หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ ๕๙
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) ศึกษาสถานการณทั่วไปการใช'สื่อสังคมออนไลนใน
ประเทศไทย และมาตรการของรัฐในการแก'ไขป7ญหาผลกระทบที่เกิดขึ้น ๒) ศึกษาตัวแบบการบริหาร
จัดการสื่อสังคมออนไลนในต างประเทศ โดยการเปรียบเทียบการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลนของ
ต างประเทศกับประเทศไทย ๓) เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลนในอนาคต
ใช'วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ มีกลุ มตัวอย าง ได'แก (๑) ผู'เชี่ยวชาญที่มีความรู'และมีประสบการณ ด'านการ
บริหารจัดการภาครัฐ ด'านนิเทศศาสตร ด'านสื่อสารมวลชน และด'านผู'ใช'สื่อสังคมออนไลน ในการ
สัมภาษณแบบเจาะลึก จํานวน ๑๖ คน เครื่องมือที่ใช'ในการวิจัย ได'แก แบบสัมภาษณแบบคําถาม
ปลายเป?ด ผลการวิจัยพบว า
แนวทางการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลนมีแนวทาง ดังนี้ (๑) ในระดับรัฐบาล ได'แก
การบริหารราชการแผ นดิน มุ งเน'นความโปร งใสและการมีส วนร วม การพยายามแสวงหาฉันทามติจากทุก
ภาคส วน (๒) ในระดับกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได'แก แนวทางการบริหารจัดการสื่อสังคม
ออนไลนมุ งเน'นประสิทธิภาพประสิทธิผล และการสนับสนุนให'เกิดนวัตกรรม (๓) สํานักงานไซเบอร
แห งชาติ เปBนองคกรจัดตั้งขึ้นใหม ที่มีอํานาจการบริหารจัดการเต็ม และมีแนวทางการบริหารจัดการสื่อ
สังคมออนไลน มุ งเน'น การตอบสนองและความสามารถในการปรับตัวมุ งสู อนาคต นอกจากนี้ภาคประชาชน
ต'องมีการเรียนรู'เทคโนโลยีสารสนเทศอย างชาญฉลาด พร'อมที่จะให'ความร วมมือต อมาตรการต าง ๆ จาก
ภาครัฐ
abstract:
ABSTRACT ABSTRACT
Title Management of Social Media in The Future
Field Science and Technology
Name LT.GEN. DHANES GALAPRUEK Course NDC Class 59
This research aims to Study general situations of using social media in
Thailand, and governmental measures in social media problem solving. Study social
media management models in other countries by comparison with Thailand’s.
Recommend processes of social media management in the future. The research is
a qualitative research with representative sample; 16 experts who are knowledgeable
and experienced in Public Sector Management, Communication Arts, Mass
Communication and using social media to have an in-depth interview with open-ended
questions. The research has found processes of social media management : For
the Government, public administration focuses on transparency and participation from
all sectors to have consensuses. For Ministry of Digital Economy and Society, a social
media management process focuses on efficiency, effectiveness and support for new
innovations. For National Cyber Office, a newly established organization which has an
authority to manage social media, a social media management process focuses on
reactions and adaptability to the future. Moreover, people have to wisely learn how to
use information technology, and be able to cooperate with the government on
governmental measures.