เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรด้านอาชีวศึกษาสู่ตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรมและการผลิต เพื่อยกระดับการแข่งขันของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เทียนประสิทธิ์ ไชยภัทรานันท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง แนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านอาชีวศึกษาสู่ ตลาดแรงงาน ภาคอุตสาหกรรม
และการผลิต เพือยกระดับการแข่งขันของประเทศ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายเทียนประสิทธิ ไชยภัทรานันท์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที59
การศึกษาในครังนี เป็ นการศึกษาถึงแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านอาชีวศึกษาสู่
ตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรมและการผลิต เพือยกระดับการแข่งขันของประเทศ ซึงจะเป็ นการ
วิเคราะห์การพัฒนาบุคลากรด้านอาชีวศึกษาเชิงนโยบายระหว่างภาครัฐ สถาบันการศึกษา และ
ภาคเอกชน ในรูปแบบ Triple Helix Model อันจะนําไปสู่การกําหนดแนวทางทีชัดเจน เป็ น
เอกภาพ ผู้วิจัยจึงเห็นความจําเป็ นทีจะต้องมีการศึกษาถึงความต้องการอันประโยชน์ในการกําหนด
มาตรการเชิงนโยบายทีตอบสนองการพัฒนาศักยภาพของประเทศได้อย่างตรงประเด็น
ในการศึกษานี นอกเหนือจากการทบทวนวรรณกรรม แนวคิดเกียวกับความต้องการ
แรงงานของภาคอุตสาหกรรมและการผลิตแล้ว ยังวิเคราะห์ครอบคลุมถึงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศ ปี (พ.ศ. - ) แผนการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยสู่ประเทศไทย . (Thailand . ) ในการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้ าหมาย (First S Curve and New S Curve) รวมถึง
การสํารวจความต้องการบุคลากรด้านอาชีวศึกษาของภาคอุตสาหกรรมและการผลิต ในกลุ่มทีมี
ความต้องการแรงงานสูง ได้แก่ กลุ่มยานยนต์ กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มธุรกิจก่อสร้าง
นอกจากนี ผู้วิจัยยังได้นําเสนอแนวทางการพัฒนาบุคลากรด้านอาชีวศึกษาในสอง
ระดับ คือ ) การสร้างศักยภาพและแรงจูงใจในการเลือกเรียนสายอาชีวศึกษา ผ่านคณะทํางานร่วม
ระหว่างสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาชีวศึกษาในพืนทีกับภาคเอกชน เพือสํารวจความต้องการ
และร่วมพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนทีเหมาะสม และ ) การพัฒนาศักยภาพของแรงงานทีมี
อยู่ในสถานประกอบการให้มีทักษะและความสามารถเพิมขึนและสอดคล้องกับการพัฒนา
อุตสาหกรรมของประเทศ ซึงจะต้องบูรณาการทํางานร่วมกันระหว่างภาครัฐทังกรมพัฒนาฝี มือ
แรงงาน กระทรวงแรงงาน และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับภาคเอกชน
abstract:
Abstract
Title Guidelines for the development of personnel in vocational education
in the field of industry and manufacturing for the labor market, to
improve the country's competitiveness
Field Social - Psychology
Name Mr. Thienprasit Chaiyapatranun Course NDC Class
This study is a study on vocational training for the development of personnel for the
labor market, industry and production in order to improve the competitiveness of the country.
Using the Triple Helix Model, this will be an analysis of the development of personnel in
vocational education in terms of public, institutional and the private-sector policies, and will lead
to the definition of clear and unambiguous guidelines. The researcher therefore, sees the need to
study the means of policy-making, for policies that aim to improve the potential of the country.
In addition to the review of literature on concepts of industrial and manufacturing
labor demand, this study also covers the 20-year (2017-2036) development strategy of the
country, Thailand's industrial development plan for Thailand 4.0, the development of the 10 target
industries (First S Curve and New Saving) and a survey on the demand of personnel with
vocational education in industry and manufacturing. This survey includes sectors with high labor
demands, such as the automotive, electronics, consumer products, information technology and
construction business sectors.
Furthermore, the researcher has also proposed the development of vocational
education in two levels: 1) Building capacity and motivation in choosing vocational education.
Through a joint working committee between the vocational education commission in the area and
the private sector, to survey the needs and develop appropriate teaching curricula 2) The
development of potential of the workforce currently existing in the workplace, to increase their
skills and capabilities, in line with the industrial development of the country. This will require the
integration of the interactions between the private sector and the government, involving the
Department of Skill Development, the Ministry of Labour and the Ministry of Science and
Technology.