Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านทางหลวง เพื่อสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ทักษิณ บุญต่อ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านทางหลวง เพือสนับสนุนเขต เศรษฐกิจพิเศษตาก ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู นายทักษิณ บุญต่อ หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ 59 งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือจัดทําแนวทางการพัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านทาง หลวง เพือสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก ซึ งเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาเฉพาะแผนงาน โครงการก่อสร้างและบํารุงรักษาบนโครงข่ายทางหลวงชนบทและทางหลวงท้องถินในพืนทีเขต เศรษฐกิจพิเศษตากโดยใช้กระบวนการลําดับชันเชิงวิเคราะห์เพือหาค่าความสําคัญและนําหนักถ่วง ของปัจจัยหลักและปัจจัยรองทีส่งผลต่อการพัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านทางหลวง โดยมีกลุ่ม ตัวอย่างทีเป็ นผู้เชียวชาญเฉพาะด้านวิศวกรรมโยธา รวม 10 คน เป็ นผู้พิจารณาให้ค่าคะแนน เพือจัดลําดับความสําคัญของโครงการ ผลการศึกษาด้วยกระบวนการลําดับชันเชิงวิเคราะห์พบว่าแนวทางการพัฒนา โครงสร้างพืนฐานด้านทางหลวงในพืนทีเขตเศรษฐกิจพิเศษตากกาหนดไว้เป็ นแผนระยะ 4 ปี (พ.ศ. ํ 2562-2565) รวมทังสิน CDโครงการ งบประมาณทังสิน 1,719.51 ล้านบาท โดยโครงการในเขตผัง เมืองรวม แม่สอดตามประเด็นการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษด่านการค้าชายแดนและแก้ไขปัญหา จราจรจะได้รับความสําคัญสูงสุ ด รองลงมา คือ การพัฒนาขนส่งสินค้าและความปลอดภัยของ โครงข่าย และประเด็นการปรับปรุงทางแยกหรือจุดเสียงให้มีความปลอดภัยและกระตุ้นเศรษฐกิจ หรือส่งเสริมการท่องเทียว ตามลําดับ ทังนีงานวิจัยควรให้ความสําคัญกบการคัดเลือกกลุ ั ่มตัวอย่างและการชีแจงทําความ เข้าใจต่อกลุ่มตัวอย่างเพือให้ได้ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามทีถูกต้องและเป็นไปตาม หลักวิชาการ การให้ความสําคัญของการบูรณาการระหวางหน ่ ่วยงานราชการทีมีหน้าทีในการพัฒนา โครงสร้างพืนฐานด้านทางหลวง เพือให้การพัฒนาเป็ นไปอย่างมีทิศทางลดความซําซ้อนและ สอดคล้องกบยุทธศาสตร์ รวมถึงการเสริมสร้างความร ั ่วมมือระหวางประเทศไทย-พม ่ ่า ในการพัฒนา โครงข่ายทางเพือผลประโยชน์ของทังสองประเทศ คําสําคัญ: กระบวนการลําดับชันเชิงวิเคราะห์การจัดลําดับโครงการแนวทางการพัฒนาโครงสร้าง พืนฐานด้านทางหลวง

abstract:

ABSTRACT Title The development of highway infrastructure. To support the special economic zon in Tak. Field Economics and Strategy Name Mr.Thaksin Boontor Course NDC Class 59 This research aims to provide guidelines for the development of highway infrastructure. To support the special economic zone in Tak. This qualitative study. The study project on the construction and maintenance of rural roads network in the area of special economic zone in Tak. The tactic used by Analytic Hierarchy Process (AHP). To determine the importance and weight of primary and secondary factors that affect the development of highway infrastructure. The sample included 10 specialist civil engineering. Points to consider for the prioritization of projects. The study also showed that the sequential approach to development, infrastructure, highway, special economic zone in Tak defined as a 4-year plan period (2562-2565 BC), a total of 28 projects. Total budget of 1,719.15 million baht. The issue of development is divided into 3 Goals. The project aims to develop a comprehensive plan Mae Sot in the issue of Special Economic Zone border trade and traffic solutions will receive the highest priority, followed by The development of logistics and security of the network, and finally improvements to the junction point or risk to safety and boost the economy or tourism promotion respectively. The recommendations of the research should focus on selected samples and clarify understanding of the sample to get accurate information and in accordance with academic principles. Given the importance of the integration between government agencies that are responsible for the development of highway infrastructure. The development is very positive and in line with the strategy to strengthen cooperation between Thailand - Myanmar. To develop a network of mutually beneficial for both countries. Keywords: Analytic Hierarchy Process (AHP), Priority projects, The development of highway infrastructure