เรื่อง: การศึกษามาตรการการบังคับใช้กฎหมายต่ออาชญากรข้ามชาติที่มีประสิทธิภาพศึกษาความเป็นไปได้ในการดำเนินการตามหมายจับในกลุ่มประเทศอาเซียนที่มีประสิทธิภาพ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจเอก ทรงศักดิ์ รักศักดิ์สกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การบังคับใชกฎหมายตออาชญากรขามชาติ: ศึกษาความเปนไปไดในการ
ดําเนินการตามหมายจับในกลุมประเทศอาเซียนที่มีประสิทธิภาพ
ผูวิจัย พันตํารวจเอก ทรงศักดิ์ รักศักดิ์สกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
ตําแหนง รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร
ค.ศ. ๒๐๐๐ มีความมุงประสงคในการจัดตั้งหลายประการ ตั้งแตความหมายของอาชญากรรมขามชาติ
เพื่อแกปญหาการตีความความหมายของอาชญากรรมขามชาติที่มีความแตกตางกัน การกําหนด
มาตรการตางๆ เชน การฟอกเงิน การริบและยึดทรัพย การสงผูรายขามแดน การโอนตัวนักโทษ
การคุมครองพยาน ซึ่งมุงประสงคในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติทั้งสิ้น
การศึกษาวิจัยนี้มุงเนนศึกษาการบังคับใชกฎหมายกับอาชญากรที่เปนอาชญากรรมขามชาติ
โดยทําการศึกษาเกี่ยวกับความเปนไปไดของการดําเนินการตามหมายจับ โดยเนนเปรียบเทียบการ
ดําเนินการของกลุมประเทศสหภาพยุโรปกับกลุมประเทศในแถบอาเซียน เพื่อนํามาวิเคราะห
หาแนวทางที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพซึ่งอาจนํามาพัฒนาใหเขากับการบังคับใชกฎหมายของไทย
ในอนาคต ทั้งนี้ ผูวิจัยเห็นวาในปจจุบันมีอาชญากร และผูตองหาที่กระทําความผิดในประเทศไทยแลว
หลบหนีไปยังตางประเทศ รวมทั้งประเทศเพื่อนบานเปนจํานวนมาก แตหนวยงานบังคับใชกฎหมาย
ยังไมสามารถติดตามจับกุมได ซึ่งแสดงใหเห็นวาการบังคับใชกฎหมายยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ
ดังนั้น หากไดมีการศึกษาการดําเนินการตามหมายจับของตางประเทศที่มีขั้นตอนและวิธีการในการ
ดําเนินงานที่รวดเร็ว ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการนํามาปรับใช
ใหเขากับบริบทการบังคับใชกฎหมายของไทยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพปญหาและขอจํากัดในการดําเนินการ
ที่เกี่ยวของกับการสงผูรายขามแดน (Extradition) ของประเทศไทย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบมาตรการ
บังคับใชกฎหมายในการจับกุมผูตองหาตามหมายจับในกลุมประเทศสหภาพยุโรป (European Union : EU)
เพื่อนํามาปรับใชในประเทศไทย รวมทั้งเพื่อศึกษาวิเคราะหการติดตามผูตองหาตามหมายจับ
ที่หลบหนีไปตางประเทศใหกับหนวยบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ
วิธีดําเนินการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชแหลงขอมูลมูลปฐมภูมิ ดวยวิธีการ
สัมภาษณ การสนทนา กับผูมีหนาที่ปฏิบัติงานหรือมีความรูความชํานาญเกี่ยวกับการสงผูรายขามแดน
นอกจากนี้ ยังไดนําขอมูลทุติยภูมิมาประยุกตใช โดยการคนควาศึกษาจากเอกสารทางวิชาการ
ตัวบทกฎหมายและเอกสารวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยใชการวิเคราะหเทียบเคียงกรณีศึกษาของ
ตางประเทศ การนําหมายจับของกลุมประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป (European Arrest Warrant :
EAW) มาใชกับกลุมประเทศอาเซียนจะมีสวนชวยในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบังคับใชกฎหมาย
รวมทั้งลดระยะเวลาในการติดตามตัวผูตองหาหลบหนี กลาวคือ การดําเนินการรองขอใหสงผูราย
ขามแดน (Extradition) มีขั้นตอนในการดําเนินการที่ซับซอนจําเปนตองใชระยะเวลาคอนขางมาก
ในการดําเนินการ และมีรายละเอียดของเอกสารที่ตองใชประกอบจํานวนมาก รวมทั้งมีขอกฎหมายข
บางอยางที่เปนขอจํากัดที่ทําใหประเทศผูรับคํารองขออาจปฏิเสธ ไมดําเนินการตามคําขอใหสงผูราย
ขามแดนได เชน ความผิดของผูตองหาที่หลบหนีขามแดนที่ไดกระทําขึ้นนั้นตองเปนความผิดตาม
กฎหมายของทั้งประเทศผูรองขอใหสงตัวผูตองหาและประเทศผูรับคํารองขอ (Double Criminality)
แตในกรณีหมายจับของกลุมประเทศสหภาพยุโรปนั้น การกระทําความผิดของผูตองหาดังกลาวนั้น
ไมจําเปนตองเปนการกระทําความผิดตามกฎหมายของทั้งสองประเทศแตอยางใด ดังนั้น หมายจับ
ของกลุมประเทศสหภาพยุโรปจึงทําไดสะดวกรวดเร็วกวาการทําคํารองขอใหสงผูรายขามแดน
ทําใหบังคับใชกฎหมายไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ทันตอสถานการณ
จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้พบวาหมายจับที่ใชระหวางกลุมประเทศสหภาพยุโรป
มีขั้นตอนการดําเนินงานที่กระชับ และรวดเร็วกวาการดําเนินการตามขั้นตอนการสงผูรายขามแดน
อยางไรก็ตาม โครงสรางของสหภาพยุโรปมีการรวมตัวและมีความรวมมือซึ่งกันและกันในดานตาง ๆ
มาเปนระยะเวลาที่ยาวนาน ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง ดังนั้น ผูวิจัย
มีขอเสนอแนะวากอนที่จะนําหลักการใชหมายจับของประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป มาปรับใช
กับกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ควรที่จะตองศึกษาวิเคราะหเพิ่มเติมถึงขอดีและขอเสียใหครบถวน
รวมทั้งตองศึกษาความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน กับประเทศสมาชิก
สหภาพยุโรป วามีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ซึ่งการที่จะบรรลุเปาหมายดังกลาวไดนั้น
จําเปนตองมีการประชุมหารือรวมกันระหวางผูนําของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน
เพื่อหาแนวทางและความรวมมือกันในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งหากการประชุมประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว ยอมเปนที่แนนอนวาจะสงผลดี
กับประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนทุกประเทศ ในการพัฒนามาตรการจับกุมผูตองหาหลบหนี
ออกนอกราชอาณาจักรที่มีประสิทธิภาพและเปนการเสริมสรางความเขมแข็งของกลุมประเทศสมาชิก
อาเซียนใหมีความรวมมือกันอยางเปนรูปธรรม ยั่งยืนและถาวรตอไป
abstract:
Abstract
Title Law enforcement against transnational criminals: the possibility in
using effective arrest warrant in Asian countries
Field Social Psychology
Name Police Colonel Songsak Raksaksakul Course NDC Class 59
The United Nations Convention against Transnational Organized Crime
(UNTOC), adopted by General Assembly in 2000, has the main objective to prevent
and suppress transnational crime such as specifying the definition of transnational
crime which has many different types, conducting various measures in these
following issues: money laundering, confiscation, extradition, and transfer of prisoners. This research focuses on the proper law enforcement to cope with transnational
criminals; it studies the enforcement of arrest warrant in European countries
comparing with Asian countries in order to find the best solution that suits the law
enforcement in Thailand. From my point of view, there are many criminals and
offenders who commit crimes and escape to foreign countries and the Thai’s law
enforcement agencies do not have the effective instruments to capture them, which
reveals the weakness in law enforcement. Therefore, if we learn from the overseas
countries that have more advanced techniques and procedures in law enforcement,
all these knowledge will be beneficial for Thai’s law enforcement agencies to
enhance their enforcement capability.
The objectives of this research are to study the limitation of
extradition in Thailand comparing with the enforcement of the European Arrest
Warrant (EAW) within the European countries and to analyze a variety of techniques
for capturing the offenders.
Research Methodology composed of the primary data by interviewing
with the law enforcement officers including experts in the process of extradition and
the secondary data by applying documentary researches (both in Thailand and
abroad) as well as studying other related topics to analyze the possibility in adopting
the European Arrest Warrant (EAW) to enforce within Asian member states. The use
of the EAW might increase the effectiveness in law enforcement by shortening some
procedures which are required in extradition process. For instance, the request form
for extradition needs many documents (Criminal court’s arrest warrant, suspect’s
description, it is required to know the offender’s whereabouts, the public prosecutor
must file a charge against the offender, statement of accuser, witnesses, and alldocuments must be translated in English and etc.). Apparently, the extradition
process takes longer duration in order for the law enforcement officers to get all
required documents submitted to the central authority (Attorney General) than in the
process to enforce EAW. In addition, there are some certain rules under extradition
treaty that the receiving country can deny the extradition request such as it has to be
double criminality of the two countries, it must not be the offence related to politics
or military, and the receiving country can reject to turn over the offender of its own
national.
From this research it can be seen that the enforcement of EAW has
shorter period than the enforcement of extradition. Nevertheless, the structure of the
European Union or the EU is different from that in Asian Community (Asian member
states) because the EU member states have cooperated with each other for such a
long time in economic, social, security, and politics but the Asian Community was just
established in 2015. Thus, prior to apply the EAW to be enforced within Asian
Community, I would recommend that it is mandatory to completely study the
strengths and weaknesses of the EAW including to learn the cultural of each Asian
member state. Moreover, to achieve the goal in crime prevention and suppression
especially in capturing fugitive, the meeting between Asian leaders in this issue has to
be successfully conducted. Then all Asian countries will gain benefit from better law
enforcement within the region and the Asian Community will be sustainably
strengthened.