Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษามาตรการการบังคับใช้กฎหมายต่ออาชญากรข้ามชาติที่มีประสิทธิภาพศึกษาความเป็นไปได้ในการดำเนินการตามหมายจับในกลุ่มประเทศอาเซียนที่มีประสิทธิภาพ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจเอก ทรงศักดิ์ รักศักดิ์สกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การบังคับใชกฎหมายตออาชญากรขามชาติ: ศึกษาความเปนไปไดในการ ดําเนินการตามหมายจับในกลุมประเทศอาเซียนที่มีประสิทธิภาพ ผูวิจัย พันตํารวจเอก ทรงศักดิ์ รักศักดิ์สกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ ตําแหนง รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร ค.ศ. ๒๐๐๐ มีความมุงประสงคในการจัดตั้งหลายประการ ตั้งแตความหมายของอาชญากรรมขามชาติ เพื่อแกปญหาการตีความความหมายของอาชญากรรมขามชาติที่มีความแตกตางกัน การกําหนด มาตรการตางๆ เชน การฟอกเงิน การริบและยึดทรัพย การสงผูรายขามแดน การโอนตัวนักโทษ การคุมครองพยาน ซึ่งมุงประสงคในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติทั้งสิ้น การศึกษาวิจัยนี้มุงเนนศึกษาการบังคับใชกฎหมายกับอาชญากรที่เปนอาชญากรรมขามชาติ โดยทําการศึกษาเกี่ยวกับความเปนไปไดของการดําเนินการตามหมายจับ โดยเนนเปรียบเทียบการ ดําเนินการของกลุมประเทศสหภาพยุโรปกับกลุมประเทศในแถบอาเซียน เพื่อนํามาวิเคราะห หาแนวทางที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพซึ่งอาจนํามาพัฒนาใหเขากับการบังคับใชกฎหมายของไทย ในอนาคต ทั้งนี้ ผูวิจัยเห็นวาในปจจุบันมีอาชญากร และผูตองหาที่กระทําความผิดในประเทศไทยแลว หลบหนีไปยังตางประเทศ รวมทั้งประเทศเพื่อนบานเปนจํานวนมาก แตหนวยงานบังคับใชกฎหมาย ยังไมสามารถติดตามจับกุมได ซึ่งแสดงใหเห็นวาการบังคับใชกฎหมายยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ ดังนั้น หากไดมีการศึกษาการดําเนินการตามหมายจับของตางประเทศที่มีขั้นตอนและวิธีการในการ ดําเนินงานที่รวดเร็ว ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการนํามาปรับใช ใหเขากับบริบทการบังคับใชกฎหมายของไทยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพปญหาและขอจํากัดในการดําเนินการ ที่เกี่ยวของกับการสงผูรายขามแดน (Extradition) ของประเทศไทย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบมาตรการ บังคับใชกฎหมายในการจับกุมผูตองหาตามหมายจับในกลุมประเทศสหภาพยุโรป (European Union : EU) เพื่อนํามาปรับใชในประเทศไทย รวมทั้งเพื่อศึกษาวิเคราะหการติดตามผูตองหาตามหมายจับ ที่หลบหนีไปตางประเทศใหกับหนวยบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ วิธีดําเนินการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชแหลงขอมูลมูลปฐมภูมิ ดวยวิธีการ สัมภาษณ การสนทนา กับผูมีหนาที่ปฏิบัติงานหรือมีความรูความชํานาญเกี่ยวกับการสงผูรายขามแดน นอกจากนี้ ยังไดนําขอมูลทุติยภูมิมาประยุกตใช โดยการคนควาศึกษาจากเอกสารทางวิชาการ ตัวบทกฎหมายและเอกสารวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยใชการวิเคราะหเทียบเคียงกรณีศึกษาของ ตางประเทศ การนําหมายจับของกลุมประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป (European Arrest Warrant : EAW) มาใชกับกลุมประเทศอาเซียนจะมีสวนชวยในการเพิ่มประสิทธิภาพของการบังคับใชกฎหมาย รวมทั้งลดระยะเวลาในการติดตามตัวผูตองหาหลบหนี กลาวคือ การดําเนินการรองขอใหสงผูราย ขามแดน (Extradition) มีขั้นตอนในการดําเนินการที่ซับซอนจําเปนตองใชระยะเวลาคอนขางมาก ในการดําเนินการ และมีรายละเอียดของเอกสารที่ตองใชประกอบจํานวนมาก รวมทั้งมีขอกฎหมายข บางอยางที่เปนขอจํากัดที่ทําใหประเทศผูรับคํารองขออาจปฏิเสธ ไมดําเนินการตามคําขอใหสงผูราย ขามแดนได เชน ความผิดของผูตองหาที่หลบหนีขามแดนที่ไดกระทําขึ้นนั้นตองเปนความผิดตาม กฎหมายของทั้งประเทศผูรองขอใหสงตัวผูตองหาและประเทศผูรับคํารองขอ (Double Criminality) แตในกรณีหมายจับของกลุมประเทศสหภาพยุโรปนั้น การกระทําความผิดของผูตองหาดังกลาวนั้น ไมจําเปนตองเปนการกระทําความผิดตามกฎหมายของทั้งสองประเทศแตอยางใด ดังนั้น หมายจับ ของกลุมประเทศสหภาพยุโรปจึงทําไดสะดวกรวดเร็วกวาการทําคํารองขอใหสงผูรายขามแดน ทําใหบังคับใชกฎหมายไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ทันตอสถานการณ จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้พบวาหมายจับที่ใชระหวางกลุมประเทศสหภาพยุโรป มีขั้นตอนการดําเนินงานที่กระชับ และรวดเร็วกวาการดําเนินการตามขั้นตอนการสงผูรายขามแดน อยางไรก็ตาม โครงสรางของสหภาพยุโรปมีการรวมตัวและมีความรวมมือซึ่งกันและกันในดานตาง ๆ มาเปนระยะเวลาที่ยาวนาน ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคง ดังนั้น ผูวิจัย มีขอเสนอแนะวากอนที่จะนําหลักการใชหมายจับของประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป มาปรับใช กับกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ควรที่จะตองศึกษาวิเคราะหเพิ่มเติมถึงขอดีและขอเสียใหครบถวน รวมทั้งตองศึกษาความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน กับประเทศสมาชิก สหภาพยุโรป วามีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ซึ่งการที่จะบรรลุเปาหมายดังกลาวไดนั้น จําเปนตองมีการประชุมหารือรวมกันระหวางผูนําของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพื่อหาแนวทางและความรวมมือกันในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งหากการประชุมประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว ยอมเปนที่แนนอนวาจะสงผลดี กับประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนทุกประเทศ ในการพัฒนามาตรการจับกุมผูตองหาหลบหนี ออกนอกราชอาณาจักรที่มีประสิทธิภาพและเปนการเสริมสรางความเขมแข็งของกลุมประเทศสมาชิก อาเซียนใหมีความรวมมือกันอยางเปนรูปธรรม ยั่งยืนและถาวรตอไป

abstract:

Abstract Title Law enforcement against transnational criminals: the possibility in using effective arrest warrant in Asian countries Field Social Psychology Name Police Colonel Songsak Raksaksakul Course NDC Class 59 The United Nations Convention against Transnational Organized Crime (UNTOC), adopted by General Assembly in 2000, has the main objective to prevent and suppress transnational crime such as specifying the definition of transnational crime which has many different types, conducting various measures in these following issues: money laundering, confiscation, extradition, and transfer of prisoners. This research focuses on the proper law enforcement to cope with transnational criminals; it studies the enforcement of arrest warrant in European countries comparing with Asian countries in order to find the best solution that suits the law enforcement in Thailand. From my point of view, there are many criminals and offenders who commit crimes and escape to foreign countries and the Thai’s law enforcement agencies do not have the effective instruments to capture them, which reveals the weakness in law enforcement. Therefore, if we learn from the overseas countries that have more advanced techniques and procedures in law enforcement, all these knowledge will be beneficial for Thai’s law enforcement agencies to enhance their enforcement capability. The objectives of this research are to study the limitation of extradition in Thailand comparing with the enforcement of the European Arrest Warrant (EAW) within the European countries and to analyze a variety of techniques for capturing the offenders. Research Methodology composed of the primary data by interviewing with the law enforcement officers including experts in the process of extradition and the secondary data by applying documentary researches (both in Thailand and abroad) as well as studying other related topics to analyze the possibility in adopting the European Arrest Warrant (EAW) to enforce within Asian member states. The use of the EAW might increase the effectiveness in law enforcement by shortening some procedures which are required in extradition process. For instance, the request form for extradition needs many documents (Criminal court’s arrest warrant, suspect’s description, it is required to know the offender’s whereabouts, the public prosecutor must file a charge against the offender, statement of accuser, witnesses, and alldocuments must be translated in English and etc.). Apparently, the extradition process takes longer duration in order for the law enforcement officers to get all required documents submitted to the central authority (Attorney General) than in the process to enforce EAW. In addition, there are some certain rules under extradition treaty that the receiving country can deny the extradition request such as it has to be double criminality of the two countries, it must not be the offence related to politics or military, and the receiving country can reject to turn over the offender of its own national. From this research it can be seen that the enforcement of EAW has shorter period than the enforcement of extradition. Nevertheless, the structure of the European Union or the EU is different from that in Asian Community (Asian member states) because the EU member states have cooperated with each other for such a long time in economic, social, security, and politics but the Asian Community was just established in 2015. Thus, prior to apply the EAW to be enforced within Asian Community, I would recommend that it is mandatory to completely study the strengths and weaknesses of the EAW including to learn the cultural of each Asian member state. Moreover, to achieve the goal in crime prevention and suppression especially in capturing fugitive, the meeting between Asian leaders in this issue has to be successfully conducted. Then all Asian countries will gain benefit from better law enforcement within the region and the Asian Community will be sustainably strengthened.