Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่กับความมั่นคงในการปฏิบัติหน้าที่

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ถิระศักดิ์ ตระกูลอินทร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่กับความมั่นคงในการปฏิบัติหนาที่ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายถิระศักดิ์ ตระกูลอินทร หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ เอกสารวิจัยฉบับนี้เปนกรณีศึกษาพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กับความเชื่อมั่นในการปฏิบัติหนาที่ โดยที่ในอดีตนั้นความรับผิดของเจาหนาที่กรณี กระทําละเมิดกอใหเกิดความเสียหายอยูภายใตความรับผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตอมาไดมีพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กําหนดโครงสรางความ รับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ โดยมีสาระสําคัญคือ ๑. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ใชบังคับกรณี เจาหนาที่กระทําละเมิด เนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ ถาการกระทําละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทํา ในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดเปนการเฉพาะตัว ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ๒. หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ไดกระทําในการ ปฏิบัติหนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได ๓. เจาหนาที่ผูกระทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่ตองรับผิดเฉพาะกรณีจงใจหรือประมาท เลินเลออยางรายแรงเทานั้น และกรณีนี้ไมมีผลกระทบตอสิทธิของผูเสียหาย เพราะผูเสียหายยังคง ไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทนเต็มจํานวนความเสียหายจากหนวยงานของรัฐโดยตรง ๔. เจาหนาที่ผูกระทําละเมิดอาจไมตองชดใชคาสินไหมทดแทนเต็มจํานวน โดยหนวยงานของรัฐตองพิจารณาความรายแรงแหงละเมิด ความเปนธรรมในแตละกรณีและถา การละเมิดเกิดจากความรีบหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐ หรือระบบการดําเนินงาน สวนรวมใหหักสวนความรับผิดดังกลาวออกดวย ๕. กรณีการกระทําละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน ไมใหนําหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใช และเจาหนาที่แตละคนตองชดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น โดยกําหนดใหมี ระเบียบ เพื่อใหเจาหนาที่ซึ่งตองรับผิดสามารถผอนชําระเงินที่ตองรับผิดนั้นไดตามรายไดฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ ๖. ผูเสียหายจากการถูกกระทําละเมิดเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ สามารถยื่นคําขอรับ ชดใชคาสินไหมทดแทนจากหนวยงานของรัฐไดดวย นอกจากการใชสิทธิ์ฟองคดีตอศาล พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กําหนดโครงสราง ดังกลาว เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับเจาหนาที่ในการกลาที่จะปฏิบัติหนาที่ ซึ่งเจาหนาที่ไดรับความ คุมครองมากกวาความรับผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยโดยใหหนวยงานของรัฐเขามามี สวนรวมรับผิดกับเจาหนาที่ดวย ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ไมมีผลเปนการจํากัดสิทธิของผูเสียหายแตอยางใดข ทั้งนี้ผูเสียหายยังคงไดรับสิทธิการชดใชคาสินไหมทดแทนตามจํานวนที่เสียหายเชนเดิม แตยังเพิ่ม ทางเลือกใหผูเสียหายยื่นคําขอรับชดใชคาสินไหมทดแทนจากหนวยงานของรัฐไดดวย เมื่อศึกษารายละเอียดในการปฏิบัติพบวาพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ เจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีความซับซอนที่ตองเชื่อมโยงกฎหมายอื่นหลายฉบับ เชน ประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติวาดวยการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจ หนาที่ระหวางศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งอาจกอใหเกิดความไมเปนเอกภาพนอก จากนี้แลวยังมีแนวทาง ปฏิบัติของกระทรวงการคลัง โดยกรมบัญชีกลางกําหนดแนวทางกรณีการอุทธรณคําสั่งทางปกครอง ซึ่งอาจขัดแยงกับหลักการอุทธรณตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแนวคําพิพากษาคําสั่งของศาลปกครองสูงสุด ซึ่งผูวิจัยไดนําเสนอในรายละเอียดไวแลวในเอกสาร วิจัยฉบับนี้

abstract:

ABSTRACT Title Title Tortious Liability of the Official and Confidence in Duty Performance Field Social – Psychology Name Mr.Thirasak Tragulintra Course NDC Class 59 This report is the case study of Act on Liability on Wrongful Act of Officials B.E.2539 and the confidence in duty performance of a state official. Since the last two decades, the liability of an official, for its tortious act that caused injury, was under control of the Civil and Commercial Code. Later, when the foresaid Act has come into force in B.E.2539, the substance of an official’s liability is shown as follows : 1. The Act shall apply to the tortious act committed by an official in the course of his duty performance. If the tortious act is not occurred from his performance of duty, the official shall be personally liable for such act under the Civil and Commercial Code. 2. A state agency shall be liable to an injured person for the consequences of a tortious act committed by its official in the course of duty performance. In this case, the injured person may directly sue the state agency but cannot sue the official. 3. The official who committed the tortious act in the course of his duty performance shall be liable only to the act committed on purpose or with gross negligence. Such case does not affect the right of an injured person to claim for full compensatory damages directly from a state agency. 4. The official who committed the tortious act may not pay compensatory damages in full amount, because the state agency must consider of the degree of gravity of the act and the fairness in each case. If the tortious act is due to an error or a fault of the state agency or the generation operation system, such part of liability shall also be deducted. 5. In the case where a tortious act is committed by several officials, the provisions of joint debtors shall not apply, and each official shall be liable and bound to pay compensatory damages only for his own proportion, by setting up the rules for the liable official to be allowed to pay by installments of the amount due, in consideration of his income, wealth, family status, as well as his responsibility. 6. An injured person, who has suffered the tortious act occurred from the duty performance of an official, may also file an application to the state agency, for the consideration of compensation payment, apart from suing such state agency.2 Morever, the substance of the Act on Tortious Liability of Officials B.E.2539 has been provided in order to make the official of a state agency confident to perform bravely his duties, so he will get more protection than the Liability provision shown in the Civil and Commercial Code. The Act provided that a state agency shall be partly liable to an injured person, with its official, and does not limit the rights of an injured person to claim for compensatory damages in full amount. An injured person may also have more choices to file an application to the state agency, for his compensation. In details, we found that this Act is so complicated, when enforcing, because it shall also apply with other main laws, such as, the Civil and Commercial Code, Administrative Procedure Act B.E.2539, Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Procedure B.E.2542, and Act on the Determination of the Powers and Duties among Courts B.E.2542 , that may cause no integrity to the sued case. Besides, there are many practices issued by the Department of Comptroller, Ministry of Finance, setting the way how to appeal the administrative order that is contrary to the Appeal provisions of the Administrative Procedure Act, B.E.2542 and the judgments/orders of the Supreme Administrative Court, which the researcher has been already presented in details in this research.